กลับไปหน้าค้นหา

นายทำนอง แสงกระจ่าง

  • Facebook ID: -
  • Line ID: -
  • Email: -

ที่อยู่ 23/1 หมู 4 ตำบล : ดอนยาง อำเภอ : เมืองเพชรบุรี จังหวัด: เพชรบุรี
โทรศัพท์ : -
การศึกษา : ประถมศึกษาปีที่ 6
ประวัติ :

เริ่มจากการดำเนินการของกรมการพัฒนาชุมชนในปี 2560 นี้ มุ่งเน้นการยกระดับเศรษฐกิจฐานรากนั่นคือ “รายได้” ที่ต้องทำให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น โดยการสร้างอาชีพจึงเป็นที่มาของ “สัมมาชีพชุมชน”ซึ่งกรมการพัฒนาชุมชนได้กำหนดแผนการสร้างสัมมาชีพชุมชนบนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีเป้าหมาย คือ ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชีพและมีรายได้ สำหรับตำบลดอนยางมี 1 หมู่บ้าน 20 ครัวเรือน โดยให้ปราชญ์ชาวบ้านสอนชาวบ้านในสิ่งที่เขาอยากทำ ฝึกปฏิบัติจริงให้สามารถนำไปเป็นอาชีพได้ เพราะจริงๆ แล้วในทุกพื้นที่จะมีคนเก่งในแต่ละอาชีพอยู่แล้ว เช่น ทำนาได้ผลผลิตสูง ทำสวนเก่ง หรือทางช่างแกะสลัก และการแปรรูปอื่นๆ ซึ่งจะ หลังจากนั้นจึงกลับมาสร้างทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านเพิ่มเติมอีกหมู่บ้านละ 4 คน แล้วเปิดรับลูกศิษย์ที่สนใจอยากประเภทอาชีพขั้นพื้นฐานที่สุดก็จะสามารถสร้างอาชีพบนฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสร้างรายได้เลี้ยงตนเองและครอบครัวได้


ความสำเร็จ :

เทคนิคการถ่ายทอดความรู้ของปราชญ์ และการเลือกอาชีพที่ครัวเรือนเป้าหมายสนใจ


ความชำนาญ : การทำไร่นาสวนผสม


ข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน

  • เริ่มจากการดำเนินการของกรมการพัฒนาชุมชนในปี 2560 นี้ มุ่งเน้นการยกระดับเศรษฐกิจฐานรากนั่นคือ “รายได้” ที่ต้องทำให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น โดยการสร้างอาชีพจึงเป็นที่มาของ “สัมมาชีพชุมชน”ซึ่งกรมการพัฒนาชุมชนได้กำหนดแผนการสร้างสัมมาชีพชุมชนบนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีเป้าหมาย คือ ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชีพและมีรายได้ สำหรับตำบลดอนยางมี 1 หมู่บ้าน 20 ครัวเรือน โดยให้ปราชญ์ชาวบ้านสอนชาวบ้านในสิ่งที่เขาอยากทำ ฝึกปฏิบัติจริงให้สามารถนำไปเป็นอาชีพได้ เพราะจริงๆ แล้วในทุกพื้นที่จะมีคนเก่งในแต่ละอาชีพอยู่แล้ว เช่น ทำนาได้ผลผลิตสูง ทำสวนเก่ง หรือทางช่างแกะสลัก และการแปรรูปอื่นๆ ซึ่งจะ หลังจากนั้นจึงกลับมาสร้างทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านเพิ่มเติมอีกหมู่บ้านละ 4 คน แล้วเปิดรับลูกศิษย์ที่สนใจอยากประเภทอาชีพขั้นพื้นฐานที่สุดก็จะสามารถสร้างอาชีพบนฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสร้างรายได้เลี้ยงตนเองและครอบครัวได้

  • 1. ปราชญ์ชุมชนต้นแบบเข้าฝึกอบรมเพื่อฝึกเป็น “วิทยากรสัมมาชีพชุมชน” ที่ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนเพชรบุรี



    2. นำความรู้ที่ได้จากการฝึกอบรม มาขยายผลให้ปราชญ์ในหมู่บ้านอีก 4 คน โดยการถ่ายทอดความรู้ เทคนิค ของการเป็นวิทยากรผู้นำสัมมาชีพ



    3. แบ่งทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน พร้อมมอบหมายภารกิจหน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุน กำกับและติดตามครัวเรือนเป้าหมายสัมมาชีพชุมชนที่ โดย 1 หมู่บ้านให้แบ่งสัดส่วนของทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน 1 คน ต่อ ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน 4 ครัวเรือน



    4. ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลความต้องการอาชีพจากแบบความต้องการฝึกอาชีพของคนในชุมชนที่ได้สำรวจไว้ โดยจัดกลุ่มความต้องการอาชีพ



    5. ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านลงพื้นที่เยี่ยมเยียนครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการฝึกอาชีพทั้ง 20 ครัวเรือน โดยวิทยากรสัมมาชีพชุมชน 1 คน ต่อ 4 ครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการฝึกอาชีพ ให้ความรู้เรื่องสัมมาชีพชุมชน อธิบายความสำคัญของการสร้างสัมมาชีพชุมชน



    6. ทบทวนความต้องการของครัวเรือนเป้าหมายฯ ว่ายังคงมีความสนใจหรือต้องการฝึกอาชีพ หรือเปลี่ยนแปลงอาชีพหรือไม่



    7. วิทยากรสัมมาชีพชุมชนผู้เป็นเจ้าของอาชีพ ดำเนินการร่วมกับทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านบรรยายให้ข้อมูล ชี้ให้เห็นภาพความสำคัญของการทำอาชีพว่าให้ประโยชน์อย่างไร เพื่อกระตุ้นให้เกิดความสนใจในการเรียนรู้ แล้วจึงอธิบายให้ข้อมูลการประกอบอาชีพอย่างละเอียดในทุกขั้นตอน โดยมีการสาธิตไปพร้อมกับการให้ข้อมูล



    8. ผู้แทนครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการฝึกอาชีพทั้ง 20 คน (ครัวเรือนละ 1 คน) เดินทางไปศึกษาดูงานเพิ่มพูนความรู้และสร้างแรงจูงใจด้านอาชีพ ณ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงหรือศูนย์เรียนรู้ชุมชนหรือบ้านปราชญ์ชุมชนที่กำหนด



    9. ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านดูแลการฝึกปฏิบัติอาชีพ ณ บ้านครัวเรือนที่ต้องการฝึกอาชีพคนละ 4 ครัวเรือน



    10. ผู้แทนครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการฝึกอาชีพทั้ง 20 ครัวเรือน ดำเนินการฝึกปฏิบัติอาชีพ ณ บ้านของตนเอง โดยมีทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน ให้การสนับสนุนในการฝึกปฏิบัติฯ

  • เทคนิคการถ่ายทอดความรู้ของปราชญ์ และการเลือกอาชีพที่ครัวเรือนเป้าหมายสนใจ

  • -
  • -
  • -