กลับไปหน้าค้นหา

นายบุญมาก ยามสุข

  • Facebook ID: -
  • Line ID: -
  • Email: -

ที่อยู่ 58 หมู 4 ตำบล : หนองขนาน อำเภอ : เมืองเพชรบุรี จังหวัด: เพชรบุรี
โทรศัพท์ : -
การศึกษา : ประถมศึกษาปีที่ 4
ประวัติ :

นายบุญมาก  ยามสุข  มีความรู้ด้านการทำปุ๋ยหมักอินทรีย์ มีการดำรงชีวิตอย่างมั่นคง ครอบครัวอบอุ่น มีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ผู้อื่นหมายถึง ปุ๋ยอินทรีย์ที่ได้จากหมักบ่มสารอินทรีย์ด้วยจุลินทรีย์ที่ทำหน้าที่ย่อยสลายอินทรีย์วัตถุให้สลายตัว และผุพังไปบางส่วน ทำให้ได้ปุ๋ยที่มีลักษณะสีคล้ำดำ มีลักษณะเป็นผง ละเอียดเหมาะ สำหรับการปรับปรุงดิน และให้ธาตุอาหารแก่พืช


ความสำเร็จ :

มีการศึกษาหาความรู้ ดูงาน การลองผิดลองถูก และการจดบันทึกกระบวนการวิธีต่างๆ


ความชำนาญ : การทำปุ๋ยหมัก


ข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน

  • นายบุญมาก  ยามสุข  มีความรู้ด้านการทำปุ๋ยหมักอินทรีย์ มีการดำรงชีวิตอย่างมั่นคง ครอบครัวอบอุ่น มีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ผู้อื่นหมายถึง ปุ๋ยอินทรีย์ที่ได้จากหมักบ่มสารอินทรีย์ด้วยจุลินทรีย์ที่ทำหน้าที่ย่อยสลายอินทรีย์วัตถุให้สลายตัว และผุพังไปบางส่วน ทำให้ได้ปุ๋ยที่มีลักษณะสีคล้ำดำ มีลักษณะเป็นผง ละเอียดเหมาะ สำหรับการปรับปรุงดิน และให้ธาตุอาหารแก่พืช

  • ส่วนประกอบของ การทำปุ๋ยคอกหมัก



    1.      ปุ๋ยคอก          1 ส่วน (1 กระสอบ)



    2.      แกลบ            1 ส่วน (1 กระสอบ)



    3.      รำ                1 ส่วน (1 กระสอบ)



    4.      น้ำ EM ขยาย   1 ลิตร



    5.      กากน้ำตาล      1 ลิตร



    6.      น้ำสะอาด       25 ลิตรหรือมากกว่า



    วิธีทำ



    1.      นำปุ๋ยคอกที่ได้มาตากแดดให้แห้ง



    2.      เกลี่ยให้โดนแดดทิ้งไว้ 1-2 แดด ถ้าปุ๋ยคอกที่ได้มาแห้งแล้วก็ไม่ต้องตากนะครับ



    3.      เมื่อปุ๋ยคอกแห้งแล้ว ก็เตรียมส่วนผสมให้พร้อม ปุ๋ยคอก รำ ข้าวเปลือก = 1:1:1



    4.      เทส่วนผสมทั้งหมดลงพื้น ใช้จอบเกลี่ยคลุกเคล้าให้เข้ากัน ขั้นตอนนี้จะใช้เวลาพอสมควร จนเข้ากัน



    5.      เติมน้ำ EM ขยาย และกากน้ำตาลที่เตรียมไว้ ผสมน้ำให้เข้ากัน นำไปรดที่กองปุ๋ยคอกที่เตรียมไว้



    6.      ใช้จอบคลุกเคล้าให้เข้ากัน ใช้เวลาพอสมควรครับ ลองใช้มือบีบดู ไม่แห้งหรือไม่เปียกเกินไป ถ้ายังแห้งอยู่ เพิ่มน้ำอีกได้เลย แล้วใช้จอบเกลี่ยไปด้วยเรื่อยๆ



    7.      ผ่านไป 3 วัน บางส่วนเริ่มย่อยสลายแล้ว



     



    8.      ผ่านไป 5 วัน ลองใช้มือขยำดูรู้สึกว่าจะเป็นขุยๆ



    9.      ผ่านไป 7 วัน จับขึ้นมาขย้ำดู สังเกตดูว่าฝุ่นคลุ้งเลยครับ



    10. หลังจากนั้นผ่านไปประมาณ 1 อาทิตย์ก็สามารถนำไปใช้กับผลผลิตของเราได้

  • มีการศึกษาหาความรู้ ดูงาน การลองผิดลองถูก และการจดบันทึกกระบวนการวิธีต่างๆ

  • -
  • -
  • -