กลับไปหน้าค้นหา

นายประภาค ยั่งยืน

  • Facebook ID: -
  • Line ID: -
  • Email: -

ที่อยู่ 121 หมู 3 ตำบล : กลัดหลวง อำเภอ : ท่ายาง จังหวัด: เพชรบุรี
โทรศัพท์ : -
การศึกษา : อื่นๆ
ประวัติ :

การขยายพันธุ์พืชจัดว่ามีความสำคัญในการปลูกพืช เพราะขั้นตอนแรกของการเพาะปลูกต้องมีต้นกล้าพืชเสียก่อน การเลือกวิธีการขยายพันธุ์พืชที่เหมาะสมจะทำให้สามารถผลิตต้นกล้าได้ตามปริมาณและคุณภาพที่ต้องการ ซึ่งเป็นผลไปถึงคุณภาพหรือปริมาณของผลผลิตของพืชนั้นๆ นอกจากนี้การขยายพันธุ์พืชยังมีความสำคัญในด้านการอนุรักษ์พันธุ์พืชที่หายากหรือใกล้จะสูญพันธุ์



 


ความสำเร็จ :

1. ปราชญ์มีความเข้าใจในกระบวนงาน



                   2. ความร่วมมือของครัวเรือนสัมมาชีพ


ความชำนาญ : -


ข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน

  • การขยายพันธุ์พืชจัดว่ามีความสำคัญในการปลูกพืช เพราะขั้นตอนแรกของการเพาะปลูกต้องมีต้นกล้าพืชเสียก่อน การเลือกวิธีการขยายพันธุ์พืชที่เหมาะสมจะทำให้สามารถผลิตต้นกล้าได้ตามปริมาณและคุณภาพที่ต้องการ ซึ่งเป็นผลไปถึงคุณภาพหรือปริมาณของผลผลิตของพืชนั้นๆ นอกจากนี้การขยายพันธุ์พืชยังมีความสำคัญในด้านการอนุรักษ์พันธุ์พืชที่หายากหรือใกล้จะสูญพันธุ์



     

  • 1.  สร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องอาชีพที่ต้องการเรียนรู้



                                 -วิทยากรสัมมาชีพชุมชนผู้เป็นเจ้าของอาชีพ ดำเนินการร่วมกับทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านถ่ายทอดความรู้ ในประเด็น ดังนี้



                                          - เล่าความเป็นมาของอาชีพ



                                          - อธิบายกระบวนการ/ขั้นตอน การประกอบอาชีพ และทักษะที่เป็น นวัตกรรมในการพัฒนาอาชีพจนเกิดรายได้ให้แก่ครัวเรือน



                                          - อธิบายความความสำคัญของการจัดการอาชีพเพื่อพัฒนาและสร้างรายได้ โดยเชื่อมโยงกับการตลาดหรือการสนับสนุนจากหน่วยงานหรือประชารัฐจังหวัด



                       2.  ศึกษาดูงาน



                                 - ผู้แทนครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการฝึกอาชีพทั้ง 20 ครัวเรือน เดินทางไปศึกษาดูงานเพิ่มพูนความรู้และสร้างแรงจูงใจด้านอาชีพ ณ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง หรือศูนย์เรียนรู้ชุมชนหรือบ้านปราชญ์ชุมชนที่กำหนด



                       3.  ฝึกปฏิบัติภายในครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการอาชีพ



                                 -ผู้แทนครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการฝึกอาชีพทั้ง 20 ครัวเรือน ดำเนินการฝึกปฏิบัติอาชีพ ณ บ้านของตนเอง โดยมีทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน ให้การกำกับดูแลการฝึกปฏิบัติฯ ตามขึ้นตอนการประกอบอาชีพที่ต้องการฝึกคนละ 4 ครัวเรือน



                       4.  ติดตาม ส่งเสริม สนับสนุนการประกอบอาชีพของครัวเรือน



                       5.  ส่งเสริมช่องทางการจำหน่ายสินค้าจากหมู่บ้านสัมมาชีพ



                       6.  ประเมินผลกิจกรรม

  • 1. ปราชญ์มีความเข้าใจในกระบวนงาน



                       2. ความร่วมมือของครัวเรือนสัมมาชีพ

  • -
  • -
  • -