กลับไปหน้าค้นหา

นายปิติ ทวีทรัพย์

  • Facebook ID: -
  • Line ID: -
  • Email: -

ที่อยู่ 29 หมู 2 ตำบล : ปกาสัย อำเภอ : เหนือคลอง จังหวัด: กระบี่
โทรศัพท์ : -
การศึกษา : มัธยมศึกษาปีที่ 3
ประวัติ :

         ตามที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานการทำบ่อแ๊สชีวภาพสำหรับในครัวเรือน  ณ  จังหวัดสตูล  และเข้าร่วมฝึกอบรมการจัดทำร่วมกับศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านเกาะไทร  จึงได้กลับมาทดลอง  แต่ไม่ประสบผลสำเร็จ  จนกระทั่งสำนักงานพัฒนาชุมชนยอำเภอเหนือคลอง  ได้คัดเลือกให้เป็นครัวเรือนต้นแบบในการจัดทำบัญชีครัวเรือนเพื่อเข้าร่วมโครงการ  สำหรับจัดทำบ่อแ๊สใช้ภายในครัวเรือนและเข้าร่วมฝึกอบรมอีกครั้ง  จึงได้มีรบ่อแก๊สเพิ่มอีก  1  บ่อ  ซึ่งได้ใช้อยู่จนถึงปัจจุบัน



         สำหรับบ่อแก๊สทมี่ได้รับคัดเลือกในบ่อที่  2  ได้มีผู้้ที่มีความชำนาญเข้าร่วมให้ความรู้ในการติดตั้งประกอบอุปกรณ์  จึงสามารถใช้แต่ไม่สมบูรณ์  100%  ซึ่งทำให้ครัวเรือนสามารถลดค่าใช้จ่ายในการซื้อแก๊สหุงต้มได้ประมาณ  80%    ซึ่งข้าพเจ้าได้จดทำบันทึกค่าใช้จ่ายไว้ตลอดระยะปี  2-3  ปี


ความสำเร็จ :

1.   มีความตั้งใจ



2.  การดูแลเอาใตใส่และขยันเนื่องจากต้องเติมเศษอาหารหรือมูลสัตว์ทุกวัน



3.  ต้องใช้แก๊สอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการอุดตัน


ความชำนาญ : การจัดทำบ่อแก๊สชีวภาพสำหรับใช้ในครัวเรือน


ข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน

  •          ตามที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานการทำบ่อแ๊สชีวภาพสำหรับในครัวเรือน  ณ  จังหวัดสตูล  และเข้าร่วมฝึกอบรมการจัดทำร่วมกับศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านเกาะไทร  จึงได้กลับมาทดลอง  แต่ไม่ประสบผลสำเร็จ  จนกระทั่งสำนักงานพัฒนาชุมชนยอำเภอเหนือคลอง  ได้คัดเลือกให้เป็นครัวเรือนต้นแบบในการจัดทำบัญชีครัวเรือนเพื่อเข้าร่วมโครงการ  สำหรับจัดทำบ่อแ๊สใช้ภายในครัวเรือนและเข้าร่วมฝึกอบรมอีกครั้ง  จึงได้มีรบ่อแก๊สเพิ่มอีก  1  บ่อ  ซึ่งได้ใช้อยู่จนถึงปัจจุบัน



             สำหรับบ่อแก๊สทมี่ได้รับคัดเลือกในบ่อที่  2  ได้มีผู้้ที่มีความชำนาญเข้าร่วมให้ความรู้ในการติดตั้งประกอบอุปกรณ์  จึงสามารถใช้แต่ไม่สมบูรณ์  100%  ซึ่งทำให้ครัวเรือนสามารถลดค่าใช้จ่ายในการซื้อแก๊สหุงต้มได้ประมาณ  80%    ซึ่งข้าพเจ้าได้จดทำบันทึกค่าใช้จ่ายไว้ตลอดระยะปี  2-3  ปี

  • กระบวนการจัดทำบ่อแก๊ส



    ขั้นตอนการจัดทำ



    1.  ต้องมีความตั้งใจและเอาใจใส่เป็นการเบื้องต้น  เนื่องจากมีขั้นตอนที่สลับซีับซ้อน  เริ่มจากมีบ่อขนาด  100-/-80  จำนวน  3  ท่อ  และขุดบ่อให้กว้างประมาณ   110  ซม  สำหรับวางบ่อซีเมนต์ลงไป  สำหรับทำบ่อน้ำทิ้งและบ่อเติม



    2.  เมื่อติดตั้งบ่อเรียบร้อยแล้วดำเนินการเดินท่อด้วยท่อพลาสติกสำหรับต่อเข้าภายในหัวแก๊ส



    3.  ต้องเติมมูลสัตว์ทิ้งไว้ประมาณ  7  วัน



    4.  หลังจาก  7  วัน  ต้องเติมกากหรือเศษอาหารที่เราไม่ใช้แล้ว  เติมวันละประมาณ  3-4  กท   สามารถใช้แก๊สได้ประมาณ  2  ซม



     

  • 1.   มีความตั้งใจ



    2.  การดูแลเอาใตใส่และขยันเนื่องจากต้องเติมเศษอาหารหรือมูลสัตว์ทุกวัน



    3.  ต้องใช้แก๊สอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการอุดตัน

  • -

  • 1.  รางวัล  หมู่บ้านคัดเลือกเป็นครัวเรือนตัวอย่างในการติดตามการใช้บ่อแก๊สในการประกวดหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ  ตามโครงการเชิดชูเกียรติประจำปี  2556  โดยมีรองผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่  เข้าเยี่ยม

  • 1.  โครงการ  ถอดบทเรียนประสบการณ์จากการทำบ่อแก๊ส  ณ  โรงแรมกระบี่รอยัล    โดย  มหาวิทยาลัยธรรมศษสตร์