กลับไปหน้าค้นหา

นายศุภโชค ทองแก้ว

  • Facebook ID: -
  • Line ID: -
  • Email: -

ที่อยู่ 54/2 หมู 1 ตำบล : ท่าสะท้อน อำเภอ : พุนพิน จังหวัด: สุราษฎร์ธานี
โทรศัพท์ : -
การศึกษา : มัธยมศึกษาปีที่ 6
ประวัติ :

     ความเป็นมา บ่อน้ำร้อนท่าสะท้อน รัตนโกสัย สุราษฎร์ธานี ตั้งอยู่ที่ บ้านท่าสะท้อน ม.3 และ บ้านห้วยลึก ม.6 ตำบลท่าสะท้อน ได้มีการพัฒนาปรับภูมิทัศน์โดยองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ซึ่งได้ดำเนินการเปิดให้บริการประชาชนและนักท่องเที่ยวทั่วไป ในบางส่วน ได้แก่ บ่อแช่เท้า บ่อแช่ตัว น้ำแร่ร้อนมีอุณหภูมิประมาณ 70 องศาเซลเซียส สวนสาธารณะและสนามเด็กเล่น นอกจากนี้มีบ้านพักเพื่อให้บริการแก่ผู้มารักษาด้วยน้ำแร่ธรรมชาติ การเดินทาง จากอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานีใช้เส้นทางหมายเลข 401 จนถึงสามแยก กม.0 ให้เลี้ยวขวาไปตามเส้นทางหมายเลข 401 จนถึงทางแยกซ้ายมือเข้าสู่บ้านบ่อกรัง ผ่านถนนทางรถไฟและผ่านตัวตลาดตำบลบ่อกรังประมาณ 4 กิโลเมตร พบทางแยกขวามือเข้าสู่บ้านห้วยลึก ซึ่งเป็นเส้นทางไปบ่อน้ำร้อนท่าสะท้อน ระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร


ความสำเร็จ :

ความตั้งใจ และขยัน


ความชำนาญ : การท่องเที่ยวบ่อน้ำพุร้อน


ข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน

  •      ความเป็นมา บ่อน้ำร้อนท่าสะท้อน รัตนโกสัย สุราษฎร์ธานี ตั้งอยู่ที่ บ้านท่าสะท้อน ม.3 และ บ้านห้วยลึก ม.6 ตำบลท่าสะท้อน ได้มีการพัฒนาปรับภูมิทัศน์โดยองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ซึ่งได้ดำเนินการเปิดให้บริการประชาชนและนักท่องเที่ยวทั่วไป ในบางส่วน ได้แก่ บ่อแช่เท้า บ่อแช่ตัว น้ำแร่ร้อนมีอุณหภูมิประมาณ 70 องศาเซลเซียส สวนสาธารณะและสนามเด็กเล่น นอกจากนี้มีบ้านพักเพื่อให้บริการแก่ผู้มารักษาด้วยน้ำแร่ธรรมชาติ การเดินทาง จากอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานีใช้เส้นทางหมายเลข 401 จนถึงสามแยก กม.0 ให้เลี้ยวขวาไปตามเส้นทางหมายเลข 401 จนถึงทางแยกซ้ายมือเข้าสู่บ้านบ่อกรัง ผ่านถนนทางรถไฟและผ่านตัวตลาดตำบลบ่อกรังประมาณ 4 กิโลเมตร พบทางแยกขวามือเข้าสู่บ้านห้วยลึก ซึ่งเป็นเส้นทางไปบ่อน้ำร้อนท่าสะท้อน ระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร

  •           กระบวนการ/วิธีการขั้นตอน/เทคนิค/ข้อพึงระวัง ที่ใช้ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาอาชีพ

    บ่อน้ำพุร้อนท่าสะท้อน  มีนัก ท่องเที่ยวพากันเข้ามาพักผ่อน ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ซึ่งได้ดำเนินการเปิดให้บริการประชาชนและนักท่องเที่ยวทั่วไป ในบางส่วน ได้แก่ บ่อแช่เท้า บ่อแช่ตัว มากขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งทางผู้นำหมู่บ้านและชาวบ้านและส่วนราชการ ได้พัฒนาเป็นหมู่ บ้านท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ นิเวศ ซึ่งได้ดำเนินการมาได้ระยะเวลาหนึ่ง ทำให้ชาวบ้าน ได้ตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้นจากการที่นักท่องเที่ยว ได้เข้ามา ไม่ว่าจะเป็นปัญหาขยะ และมีปัญหาการนำวัฒนธรรมภายนอก เข้ามาในหมู่บ้าน ชาวบ้าน จึงตระหนักว่าถ้าไม่มีรูปแบบการจัดการที่เป็นกฎเกณฑ์ให้นัก ท่องเที่ยวที่เข้ามาได้ปฏิบัติแล้ว ทรัพยากรธรรมชาติของหมู่บ้านรวมทั้งสังคมวัฒนธรรมของคนในหมู่บ้านจะต้อง เปลี่ยนไป จากสิ่งที่เกิดขึ้นจึงจำเป็นต้องมีกระบวนการเพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหา ที่เกิดขึ้นจากการเปิดหมู่บ้านเป็นแหล่งท่องเที่ยว เพื่อให้คนในหมู่บ้านและนักท่องเที่ยวได้ตระหนักถึงการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติไปพร้อม ๆ กับการอนุรักษ์วัฒนธรรมของคนในชุมชน และการเชื่อมโยงสถานที่ท่องเที่ยวอื่น ๆ ในชุมชน ทำให้คนในชุมชนมีรายได้เพิ่มมากขึ้น

  • ความตั้งใจ และขยัน

  • -
  • -
  • -