กลับไปหน้าค้นหา

นางทองพลู เคี้ยมพันธุ์

  • Facebook ID: -
  • Line ID: -
  • Email: -

ที่อยู่ 67/1 หมู 3 ตำบล : ทับคาง อำเภอ : เขาย้อย จังหวัด: เพชรบุรี
โทรศัพท์ : -
การศึกษา : อื่นๆ
ประวัติ :

มีอาชีพหลักคือการทำนา ได้มีโอกาสศึกษาเรื่องดิน เรื่องปุ๋ย และนำกลับมาปฏิบัติอย่างต่อเนื่องจนได้รับความไว้วางใจจากผู้ซื้อ อีกทั้งยังสามารถเผยแพร่ การทำปุ๋ยหมักได้อีกด้วย ทำให้มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการทำนาอีกด้วย


ความสำเร็จ :

อดทน ตั้งใจ


ความชำนาญ : การทำปุ๋ย


ข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน

  • มีอาชีพหลักคือการทำนา ได้มีโอกาสศึกษาเรื่องดิน เรื่องปุ๋ย และนำกลับมาปฏิบัติอย่างต่อเนื่องจนได้รับความไว้วางใจจากผู้ซื้อ อีกทั้งยังสามารถเผยแพร่ การทำปุ๋ยหมักได้อีกด้วย ทำให้มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการทำนาอีกด้วย


    1. นำขี้วัวแห้ง รำละเอียด แกลบ มาเทกองและคลุกเคล้าให้เข้ากัน

    2. ใส่กากน้ำตาลลงไปคลุกเคล้า

    3. ใส่น้ำ EM และน้ำสะอาด คลุกให้เข้ากัน สังเกตว่าหากกำปุ๋ยแล้วเกาะกันเป็นก้อนแสดงว่าเข้า



    กันแล้ว




    1. ใช้กระสอบปุ๋ยคลุมไว้ประมาณ 1 สัปดาห์ สามารถนำออกมาใช้ได้

  • อดทน ตั้งใจ

  • . อย่ากองปุ๋ยหมักให้มีขนาดใหญ่เกินไป เพราะจะทำให้เกิดความร้อนระอุเกิน 70 องศาเซลเซียส ซึ่งจะเป็นผลทำให้เชื้อจุลินทรีย์ตายได้ ขนาดกองปุ๋ยหมักที่เหมาะสมคือ ความกว้างไม่ควรเกิน 2-3 เมตร ความยาวไม่จำกัด สูงประมาณ 1-1.50 เมตร



    ถ้ากองปุ๋ยหมักมีขนาดเล็กเกินไป จะทำให้เก็บรักษาความร้อนและความชื้นไว้ได้น้อย ทำให้เศษพืชสลายตัวเป็นปุ๋ยหมักได้ช้า



    อย่ารดน้ำโชกจนเกินไป จะทำให้การระบายอากาศในกองปุ๋ยไม่ดีอาจทำให้เกิดกรดอินทรีย์บางอย่าง เป็นเหตุให้มีกลิ่นเหม็นอับได้ง่าย



    ถ้าเกิดความร้อนในกองปุ๋ยหมักมาก ต้องเพิ่มน้ำให้กองปุ๋ย มิฉะนั้นจุลินทรีย์ที่ย่อยซากพืชจะตายได้



    กรณีใช้ฟางข้าวในการกองปุ๋ยหมักไม่จำเป็นต้องใช้ปูนขาว



    เศษวัสดุที่ใช้ในการกองปุ๋ยหมักมีทั้งประเภทที่สลายตัวเร็ว เช่น ฟางข้าว ผักตบชวา เปลือก



    ถั่ว และต้นถั่วเศษวัชพืชต่าง ๆ และประเภทที่สลายตัวยาก เช่น แกลบ ขี้เลื่อย ขี้ลีบข้าว กากอ้อย ขุยมะพร้าว ซังข้าวโพด ดังนั้นในการกองปุ๋ยหมักไม่ควรเอาเศษวัสดุที่สลายตัวเร็วและสลายตัวยากกองปนกัน เพราะจะทำให้ได้ปุ๋ยหมักที่ไม่สม่ำเสมอกันเนื่องจากเศษพืชบางส่วนยังสลายตัวไม่หมด

  • -
  • -