กลับไปหน้าค้นหา

นายกรีฑา ส่งเสริม

  • Facebook ID: -
  • Line ID: -
  • Email: -

ที่อยู่ 8 หมู 4 ตำบล : ท่าสะบ้า อำเภอ : วังวิเศษ จังหวัด: ตรัง
โทรศัพท์ : -
การศึกษา : ปริญญาตรี
ประวัติ :

เศรษฐกิจพอเพียงเป็นหนึ่งในแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทีได้พระราชทานปรัชญาในการดำรงชีวิต ที่ยึดหลักความพอเหมาะพอดี มีเหตุมีผล และความไม่ประมาท ซึ่งพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงถือปฏิบัติด้วยพระองค์เองอย่างต่อเนื่องยาวนาน ดำรงชีวิตเป็นแบบอย่างอย่างสมบูรณ์แบบ และทรงพระราชทานพระราชดำริให้คนไทยได้นำไปปฏิบัติตั้งแต่ปี พ.ศ.2517 ดังพระบรมราโชวาทที่ยกมาข้างต้น และเมื่อคราววิกฤตเศรษฐกิจ พ.ศ.2540 คนไทยก็ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระองค์ท่าน เมื่อวิกฤตเศรษฐกิจมาเยือน อันเกิดจากความฟุ้งเฟ้อเห่อเหิมของสังคมไทยในยุคฟองสบู่



เป็นปรัชญาที่ปรับใช้ในปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัว  โดยเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ นำพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย และนำประสบการณ์ในการดำเนินชีวิตมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันโดยยึดตามหลักแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ แนวทางการปฏิบัติตนเพื่อเป็นแบบอย่างแก่ประชาชนในพื้นที่


ความสำเร็จ :

๑.การนำความรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตประจำวันได้ ปรับเปลี่ยนตามบริบทของตนเองและชุมชน



๒.มีการลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ในครัวเรือน จากการปลูกผักเพื่อใช้บริโภคในครัวเรือน



          ๓.เกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้แก่ชุมชน พัฒนาต่อยอดให้เกิดความยั่งยืน


ความชำนาญ : เศรษฐกิจพอเพียง


ข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน

  • เศรษฐกิจพอเพียงเป็นหนึ่งในแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทีได้พระราชทานปรัชญาในการดำรงชีวิต ที่ยึดหลักความพอเหมาะพอดี มีเหตุมีผล และความไม่ประมาท ซึ่งพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงถือปฏิบัติด้วยพระองค์เองอย่างต่อเนื่องยาวนาน ดำรงชีวิตเป็นแบบอย่างอย่างสมบูรณ์แบบ และทรงพระราชทานพระราชดำริให้คนไทยได้นำไปปฏิบัติตั้งแต่ปี พ.ศ.2517 ดังพระบรมราโชวาทที่ยกมาข้างต้น และเมื่อคราววิกฤตเศรษฐกิจ พ.ศ.2540 คนไทยก็ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระองค์ท่าน เมื่อวิกฤตเศรษฐกิจมาเยือน อันเกิดจากความฟุ้งเฟ้อเห่อเหิมของสังคมไทยในยุคฟองสบู่



    เป็นปรัชญาที่ปรับใช้ในปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัว  โดยเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ นำพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย และนำประสบการณ์ในการดำเนินชีวิตมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันโดยยึดตามหลักแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ แนวทางการปฏิบัติตนเพื่อเป็นแบบอย่างแก่ประชาชนในพื้นที่

  • ๑.น้อมนำแนวพระราชดำริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นต้นแบบในการดำรงชีวิตประจำวัน



              ๒.ยึดหลัก พออยู่ พอกิน พอใช้ พอประมาณ



              ๓.มีการพึ่งตนเอง โดยเริ่มจาก “ปลูกของที่กิน กินของที่ปลูก” ลดทอนค่าใช้จ่ายในครัวเรือน



              ๔.เป็นแบบอย่างการพึ่งตนเอง พร้อมถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ที่สนใจ

  • ๑.การนำความรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตประจำวันได้ ปรับเปลี่ยนตามบริบทของตนเองและชุมชน



    ๒.มีการลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ในครัวเรือน จากการปลูกผักเพื่อใช้บริโภคในครัวเรือน



              ๓.เกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้แก่ชุมชน พัฒนาต่อยอดให้เกิดความยั่งยืน

  • ยึดมั่นในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไม่หวั่นไหวต่อกระแสบริโภคนิยม

  • -



     

  • การประกอบอาชีพหลายด้านทั้งในและนอกจังหวัด และการได้รับการสัมนาในหัวข้อต่างๆ.