กลับไปหน้าค้นหา

นายสมหมาย ไทยกลาง

  • Facebook ID: -
  • Line ID: -
  • Email: -

ที่อยู่ 119/1 หมู 5 ตำบล : นาท่ามใต้ อำเภอ : เมืองตรัง จังหวัด: ตรัง
โทรศัพท์ : -
การศึกษา : มัธยมศึกษาปีที่ 3
ประวัติ :

ยางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของเกษตรกรภาคใต้ และเป็นอาชีพดั้งเดิมของครอบครัว  ซึ่งประกอบอาชีพทำสวนยางกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษและก็ยึดอาชีพทำสวนยางพาราเป็นอาชีพหลักมาจนถึงปัจจุบัน 


ความสำเร็จ :

                 1. ปริมาณผลผลิตที่ได้รับ



                2. รายได้จากการขายจำหน่ายผลผลิตเพิ่มขึ้น



                3. ความอุดมสมบูรณ์ของดินที่ปลูกยางพารา


ความชำนาญ : สวนยางพารา


ข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน

  • ยางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของเกษตรกรภาคใต้ และเป็นอาชีพดั้งเดิมของครอบครัว  ซึ่งประกอบอาชีพทำสวนยางกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษและก็ยึดอาชีพทำสวนยางพาราเป็นอาชีพหลักมาจนถึงปัจจุบัน 

  • 1. การกำหนดระยะปลูก  ต้นยางจะเจริญเติบโตได้ดีที่สุดต้องมีพื้นที่ต่อต้นไม่น้อยกว่า 20



    ตารางเมตรสำหรับระยะปลูกในการปลูกยาง ถ้าเป็นพื้นที่ราบในเขตปลูกยางเดิม ระยะปลูกที่เหมาะสมคือ 2.5 x 8 เมตร (80 ต้นต่อไร่) หรือ 3 x 7 เมตร (76 ต้นต่อไร่)



                    2. การขุดหลุมปลูก เมื่อปักไม้ชะมบตามระยะปลูกแล้ว ทำการขุดหลุม โดยขุดดินด้านใดด้านหนึ่งของไม้ชะมบโดยตลอดไม่ต้องถอนไม้ออก หลุมมีขนาด กว้างxยาวxลึก 50x50x50 เซนติเมตร ดินที่ขุดแบ่งเป็น 2 ส่วน ดินบนและดินล่างกองไว้คนละด้าน ผึ่งแดดไว้ประมาณ 1 สัปดาห์ เมื่อดินแห้งแล้วย่อยดินบนให้ละเอียดพอควรใส่ลงก้นหลุม 

  •                  1. ปริมาณผลผลิตที่ได้รับ



                    2. รายได้จากการขายจำหน่ายผลผลิตเพิ่มขึ้น



                    3. ความอุดมสมบูรณ์ของดินที่ปลูกยางพารา

  • 1. หลังจากปลูกยางแล้วถ้ามีฝนตกหนัก ให้ออกตรวจดูหลุมปลูกยาง ถ้าหลุมปลูกยางต้นใดที่ปลูกแล้วเหยียบดินไม่ แน่น จะทำให้ดินยุบเป็นแอ่ง ซึ่งจะขังน้ำ และอาจทำให้โคนต้นยางบริเวณคอดินไหม้ และต้นยางตายได้ ดังนั้นจึงต้องเกลี่ยดิน บริเวณปากหลุม ให้เรียบอยู่เสมอในช่วงที่มีฝนตกหนัก



    2. ขณะโกยดินลงก้นหลุม อย่าให้ดินกระแทกต้นยางแรงๆ เพราะอาจจะทำให้ต้นยางฉีกหรือหัก ซึ่งจะทำให้ต้นยางตาย ถ้าปลูกด้วยความระมัดระวังตามสมควร ก็จะทำให้อัตราการตายของต้นยางหลังปลูกต่ำมาก

  • -

  • ประกอบอาชีพเกษตรกรสวนยางพารามาเป็นเวลา 30  ปี