กลับไปหน้าค้นหา

นายมูฮัมมัดกอรี การี

  • Facebook ID: -
  • Line ID: -
  • Email: -

ที่อยู่ 21 หมู 8 ตำบล : ยะรม อำเภอ : เบตง จังหวัด: ยะลา
โทรศัพท์ : -
การศึกษา : มัธยมศึกษาปีที่ 6
ประวัติ :

ข้าพเจ้า  นายมูฮัมมัดกอรี   กาเซ็ง     ที่อยู่ปัจจุบัน   21  หมู่ที่  8   (บ้านบูเก็ตดาราเซ) ตำบลยะรม    อำเภอเบตง   จังหวัดยะลา   หลังจบการศึกษา  ได้ทำงานเกี่ยวกับการทำสวนยาง และควบคู่กับการทำงานด้านศาสนา และงานสาธารณะอื่น ๆ   สำหรับการประกอบอาชีพของครอบครัวคือทำสวนยางพารา และปลูกผักสวนครัว  ซึ่งทำให้ได้รับการคัดเลือกเป็นครูบัญชี เป็นต้นแบบของครัวเรือนเศรษฐกิจพอเพียง ในหมู่บ้าน ต่อมา  ก็ลงมาเป็นผู้ใหญ่บ้าน และยังคงประกอบดำเนินวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งปัจจุบัน คือการทำสวนยางก็ยังทำถึงปัจจุบัน เพราะเป็นอาชีพหลัก  แต่เนื่องด้วยราคาผลผลิตตกต่ำ  จึงได้มีส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง โดยการทำเป็นต้นแบบ และขยายผลให้แก่ครัวเรือนอื่น ๆ ในหมู่บ้าน เพื่อเป็นการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือนในหมู่บ้าน ปลอดภัยจากสารเคมีต่าง ๆ มีการแบ่งปัน แลกเปลี่ยนซึ่งกันและกันในชุมชน


ความสำเร็จ :

-  บอกเทคนิคที่ทำให้เกิดความสำเร็จในการทำงาน



                             -  เทคนิคที่ทำให้เกิดความสำเร็จในการทำงาน  การทำงานด้านการปลูกผักสวนครัวต้องดูแลรักษาเพื่อไม่ให้เกิดปัญหา ต้องทำด้วยความเข้าใจในการทำงาน คอยสังเกตความเปลี่ยนแปลงของผักแต่ละชนิด                   



-  วิธีแก้ปัญหาเมื่อเกิดความผิดพลาด



                             -  ต้องศึกษาให้ดีว่าเกิดความผิดพลาดที่ตรงไหนเพราะอะไร  ต้องแก้ปัญหาที่ตรง



ต้นเหตุจะทำให้เป็นการแก้ปัญหาที่ตรงจุด  จะไม่เป็นการแก้ปัญหาที่ซ้ำซาก


ความชำนาญ : การปลูกผักสวนครัว


ข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน

  • ข้าพเจ้า  นายมูฮัมมัดกอรี   กาเซ็ง     ที่อยู่ปัจจุบัน   21  หมู่ที่  8   (บ้านบูเก็ตดาราเซ) ตำบลยะรม    อำเภอเบตง   จังหวัดยะลา   หลังจบการศึกษา  ได้ทำงานเกี่ยวกับการทำสวนยาง และควบคู่กับการทำงานด้านศาสนา และงานสาธารณะอื่น ๆ   สำหรับการประกอบอาชีพของครอบครัวคือทำสวนยางพารา และปลูกผักสวนครัว  ซึ่งทำให้ได้รับการคัดเลือกเป็นครูบัญชี เป็นต้นแบบของครัวเรือนเศรษฐกิจพอเพียง ในหมู่บ้าน ต่อมา  ก็ลงมาเป็นผู้ใหญ่บ้าน และยังคงประกอบดำเนินวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งปัจจุบัน คือการทำสวนยางก็ยังทำถึงปัจจุบัน เพราะเป็นอาชีพหลัก  แต่เนื่องด้วยราคาผลผลิตตกต่ำ  จึงได้มีส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง โดยการทำเป็นต้นแบบ และขยายผลให้แก่ครัวเรือนอื่น ๆ ในหมู่บ้าน เพื่อเป็นการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือนในหมู่บ้าน ปลอดภัยจากสารเคมีต่าง ๆ มีการแบ่งปัน แลกเปลี่ยนซึ่งกันและกันในชุมชน

  • จะคิดว่าเป็นเรื่องง่ายก็ แต่หากคิดว่าเป็นเรื่องยากก็ยากอยู่ เพราะไม่รู้วิชาการปลูก หรือดูแล ก็จะเจอปัญหามากหมาย ฉะนั้นเราจะทำอย่างไร เพื่อให้เกิดความสำเร็จ โดยมีเทคนิคง่ายดั้งนี้



                       ๑. เตรียมพื้นที่ก่อนปลูกพร้อม หากการปลูกซ้ำควรจะเลี่ยง  ด้วยการปลูกพืชผักหมุนเวียนกัน และส่วนมากจะเป็นผักสวนครัวที่มีอายุแตกต่างกันไป ไม่ต้องพึ่งพาสารเคมี เช่น ชะอม ตะไคร้  ผักหวาน   และผักสวนครัวอื่น ๆ



                       ๒. ยกร่องทำแปลงผักสวนครัว  และการปลูกเป็นแนวรั้ว ด้วยชะอม  ตะไคร้ ผักหวาน ถั่วพู



                       ๓. ควรใส่ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก ผสมก่อนการปลูก พรวนดิน ตากดินทิ้งไวประมาณ 7 – 15 วัน    



                       4. ยกแปลงสูงประมาณ 4 – 5 นิ้ว กวางประมาณ 1 – 1.20 เมตร สวนความยาวตามลักษณะของพื้นที่  เพื่อผักได้รับแสงแดดทั่วแปลง - ใสปุยหมักหรือปุยคอก อัตรา 2 – 3 กิโลกรัมตอเนื้อที่ 1 ตารางเมตร                  



                       6. การปลูก  การปลูกดวยเมล็ด สำหรับผักทั่วไป เชน พริก มะเขือ คะนา กวางตุง  ถั่วฝกยาว และแตงกวา ตองใชเมล็ดปลูก การใชเมล็ดปลูก ทําได 3 วิธีคือ



     



    2



     



    - การเพาะกลากอนแลวจึงยายปลูก สําหรับผักที่เมล็ดมีราคาแพง ตองการดูแลเอาใจใส



    มาก หรือในชวงที่เวนปลูกมีฝนตกชกุ การเพาะ และยายปลกู อาจทําให สามารถดูแลตนกลาใหแข็งแรงได้ก่อนย้ายปลูกลงในแปลงปลูก



     - การหวานเมล็ดโดยตรงในแปลงปลูก และเมื่อตนกลาโตทําการถอน แยกต้นที่แข็งแรง



    ไว้ และต้นที่ไม่แข็งแรงถอนทิ้ง



                       7. สำหรับการปลูกผักสวนครัวเป็นรั้ว จะมีขั้นตอนที่ไม่ซับซ้อน แต่ต้องเตรียมพื้นที่ และเตรียมกิ่งหรือต้นพันธุ์ที่มีคุณภาพ                  

  • -  บอกเทคนิคที่ทำให้เกิดความสำเร็จในการทำงาน



                                 -  เทคนิคที่ทำให้เกิดความสำเร็จในการทำงาน  การทำงานด้านการปลูกผักสวนครัวต้องดูแลรักษาเพื่อไม่ให้เกิดปัญหา ต้องทำด้วยความเข้าใจในการทำงาน คอยสังเกตความเปลี่ยนแปลงของผักแต่ละชนิด                   



    -  วิธีแก้ปัญหาเมื่อเกิดความผิดพลาด



                                 -  ต้องศึกษาให้ดีว่าเกิดความผิดพลาดที่ตรงไหนเพราะอะไร  ต้องแก้ปัญหาที่ตรง



    ต้นเหตุจะทำให้เป็นการแก้ปัญหาที่ตรงจุด  จะไม่เป็นการแก้ปัญหาที่ซ้ำซาก

  •  -  ต้องมีความรู้ เอาใจใส่ ในการปลูกผักแต่ละชนิด การป้องกันโรค การใช้ปุ๋ยและการกำจัดวัชพืช

  • รองชนะเลิศผู้ใหญ่บ้านดีเด่น ปี 2559

  • 1. ครูบัญชี



    2. คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.)



    3. ผู้ใหญ่บ้าน



    4. ครูส่งเสริมภาษาไทย (ติดตามสอนผู้ไม่รู้หนังสือที่เป็นมุสลิม)