กลับไปหน้าค้นหา

นายไพโรจน์ พงศ์วัฒนาเกียรติ

  • Facebook ID: -
  • Line ID: -
  • Email: -

ที่อยู่ 65 หมู 6 ตำบล : ท่ามะพลา อำเภอ : หลังสวน จังหวัด: ชุมพร
โทรศัพท์ : -
การศึกษา : ปวช.
ประวัติ :

การน้อมนำหลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ โดยใช้แนวทางการดำเนินโครงการฯ แก่ปวงชนชาวไทย เพื่อช่วยเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้สามารถพึ่งตนเองได้ และขยายไปสู่การพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งสร้างสังคมเป็นสุขร่วมกันสืบไป



          ปัญหาสำคัญของหมู่บ้านนี้คือราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่ำไม่แน่อน สภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป การขาดปัจจัยการผลิตในการดำรงชืวิต ขาดการพัฒนาแบบยั่งยืน ดังนั้นการดำเนินงานขับเคลื่อนชุมชนเป็นสุขตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เน้นกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน การเพิ่มทักษะความสามารถในการจัดการตนเองให้แก่คณะกรรมการหมู่บ้านและครอบครัวพัฒนาสมาชิกในชุมชนในชุมชนสนใจเรียนรู้เป็นเครื่องมือ อาทิ การจัดทำบัญชีครัวเรือน เรียนรู้อาชีพ การเลี้ยงไก่ไข่ นำไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับครัวเรือนและสภาพพื้นที่ โดยเฉพาะพื้นที่ท้ายสวนมังคุด  เพิ่มโปรตีนให้กับมื้ออาหารในครัวเรือน



          ด้วยเหตุนี้ ทางคณะกรรมการหมู่บ้านร่วมกับประชาชนจึงได้ร่วมกันจัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านได้เรียนรู้เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และให้ประชาชนในหมู่บ้านมีรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากการขายไข่ไก่และสามารถนำมาประกอบอาหารในชีวิตประจำวันได้ การพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงเน้นความสมัครใจของคนในชุมชน เปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วมทุกกิจกรรม  การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใช้หลักการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาเรียนรู้จากการปฏิบัติ โดยให้คณะกรรมการหมู่บ้านได้เป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนกิจกรรมด้านเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นรูปธรรม  เพื่อเป็นการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ตลอดจนส่งเสริมการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การพัฒนาหมู่บ้าน เป็นแบบอย่างการพัฒนาแก่หมู่บ้าน/ชุมชนอื่น ๆ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หลักเศรษฐกิจพอเพียงสร้างพลังในการบริหารจัดการเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นวิถีชีวิตในหมู่บ้านต่อไป


ความสำเร็จ :

1.ชนิดของพันธ์ไก่ไข่


ความชำนาญ : การเลี้ยงไก่ไข่


ข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน

  • การน้อมนำหลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ โดยใช้แนวทางการดำเนินโครงการฯ แก่ปวงชนชาวไทย เพื่อช่วยเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้สามารถพึ่งตนเองได้ และขยายไปสู่การพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งสร้างสังคมเป็นสุขร่วมกันสืบไป



              ปัญหาสำคัญของหมู่บ้านนี้คือราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่ำไม่แน่อน สภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป การขาดปัจจัยการผลิตในการดำรงชืวิต ขาดการพัฒนาแบบยั่งยืน ดังนั้นการดำเนินงานขับเคลื่อนชุมชนเป็นสุขตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เน้นกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน การเพิ่มทักษะความสามารถในการจัดการตนเองให้แก่คณะกรรมการหมู่บ้านและครอบครัวพัฒนาสมาชิกในชุมชนในชุมชนสนใจเรียนรู้เป็นเครื่องมือ อาทิ การจัดทำบัญชีครัวเรือน เรียนรู้อาชีพ การเลี้ยงไก่ไข่ นำไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับครัวเรือนและสภาพพื้นที่ โดยเฉพาะพื้นที่ท้ายสวนมังคุด  เพิ่มโปรตีนให้กับมื้ออาหารในครัวเรือน



              ด้วยเหตุนี้ ทางคณะกรรมการหมู่บ้านร่วมกับประชาชนจึงได้ร่วมกันจัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านได้เรียนรู้เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และให้ประชาชนในหมู่บ้านมีรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากการขายไข่ไก่และสามารถนำมาประกอบอาหารในชีวิตประจำวันได้ การพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงเน้นความสมัครใจของคนในชุมชน เปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วมทุกกิจกรรม  การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใช้หลักการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาเรียนรู้จากการปฏิบัติ โดยให้คณะกรรมการหมู่บ้านได้เป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนกิจกรรมด้านเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นรูปธรรม  เพื่อเป็นการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ตลอดจนส่งเสริมการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การพัฒนาหมู่บ้าน เป็นแบบอย่างการพัฒนาแก่หมู่บ้าน/ชุมชนอื่น ๆ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หลักเศรษฐกิจพอเพียงสร้างพลังในการบริหารจัดการเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นวิถีชีวิตในหมู่บ้านต่อไป

  • 1.เมื่อได้รับพันธุ์ไก่ไข่มา  ควรให้ไก่ไข่ได้พักปรับสภาพภมิอากาศ การให้น้ำ อาหาร และแสงสว่าง มีหลังคากันแดดกันฝน



    2.ควรปล่อยให้ไก่ไข่ออกจากกรงเพื่อกินหญ้า และได้ออกกำลังกาย ไก่ไข่จะแข็งแรง

  • 1.ชนิดของพันธ์ไก่ไข่

  • ไกไข่ไม่ชอบอากาศชื้น หรือฝนตก   พื้นกรงที่เปียกชื้น  

  • -
  • -

ไฟล์แนบอื่นๆ