กลับไปหน้าค้นหา

นายเสถียร พุ่มพยอม

  • Facebook ID: -
  • Line ID: -
  • Email: -

ที่อยู่ 3/5 หมู 6 ตำบล : ห้วยด้วน อำเภอ : ดอนตูม จังหวัด: นครปฐม
โทรศัพท์ : -
การศึกษา : ปริญญาตรี
ประวัติ :

นายเสถียร  พุ่มพยอม จบการศึกษาปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ (สาขาวิศวกรรมโครงสร้าง)มหาวิทยาลัยเทคโนพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (สจพ.) เคยปฏิบัติงานที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ตั้งแต่ พ.ศ. 2512 – 2552 อายุงาน 40 ปี ตำแหน่งสุดท้ายวิศวกรรม ระดับ 10



ประสพความสำเร็จในอาชีพ



     -ได้ร่วมงานกับพันตรีพิเชษฐ์ วิสัยจร (ยศเมื่อปี พ.ศ. 2520) ปัจจุบันพลเอกพิเชษฐ์ วิสัยจร (เกษียณอายุแล้ว) ทำงานตามพระราชดำริของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ พระบรมราชินีนาถ โครงการป่าดงนาทาม อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี โดยให้ความรู้กับชาวบ้านเลี้ยงไก่พื้นเมือง เลี้ยงปลาในบ่อพลาสติก เลี้ยงหมูหลุม การทำปุ๋ย การทำน้ำหมักชีวภาพ การทำน้ำยาไล่แมลงจากสะเดา ขี้เหล็ก ทำอยู่ประมาณ 1 ปี



 



 



 


ความสำเร็จ :

  1. ต้องปรับทัศนคติของชาวบ้านให้ทราบว่าการใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมี เป็นอันตรายต่อชุมชนและตัวเกษตรกรเอง

  2. เมื่อมีการปรับทัศนคติของชาวบ้านก็สามารถลดการใช้สารเคมีลงได้ประมาณ 30 %

  3. ไม่ควรมีการเร่งรัดหรือคาดหมายว่าจะได้ผลรับจากการให้ความรู้มากนัก เพราะชาวบ้านยังยึดติดอยู่กับการกระทำแบบเดิมๆ


ความชำนาญ : ปุ๋ยอินทรีย์และเกษตรอินทรีย์


ข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน

  • นายเสถียร  พุ่มพยอม จบการศึกษาปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ (สาขาวิศวกรรมโครงสร้าง)มหาวิทยาลัยเทคโนพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (สจพ.) เคยปฏิบัติงานที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ตั้งแต่ พ.ศ. 2512 – 2552 อายุงาน 40 ปี ตำแหน่งสุดท้ายวิศวกรรม ระดับ 10



    ประสพความสำเร็จในอาชีพ



         -ได้ร่วมงานกับพันตรีพิเชษฐ์ วิสัยจร (ยศเมื่อปี พ.ศ. 2520) ปัจจุบันพลเอกพิเชษฐ์ วิสัยจร (เกษียณอายุแล้ว) ทำงานตามพระราชดำริของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ พระบรมราชินีนาถ โครงการป่าดงนาทาม อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี โดยให้ความรู้กับชาวบ้านเลี้ยงไก่พื้นเมือง เลี้ยงปลาในบ่อพลาสติก เลี้ยงหมูหลุม การทำปุ๋ย การทำน้ำหมักชีวภาพ การทำน้ำยาไล่แมลงจากสะเดา ขี้เหล็ก ทำอยู่ประมาณ 1 ปี



     



     



     


    • การให้ความรู้ในการจัดทำปุ๋ยอินทรีย์ให้กับชาวบ้านในชุมชนของตำบลห้วยด้วน ให้ได้ทราบถึงวิถีการทำปุ๋ยอินทรีย์ทุกขั้นตอนโดยการอบรมให้ความรู้ 1 วัน

      และให้ราษฎรปฏิบัติทำปุ๋ยแต่ละหมู่บ้าน จำนวน 10 คน ได้ปุ๋ยจำนวนเท่าใดแบ่งให้ผู้ทำปุ๋ย 400 ก.ก.ทุกคน ทำให้ราษฎรสามารถประหยัดค่าปุ๋ยได้ถึง 50 %

    • สำหรับปัญหาการทำเกษตรอินทรีย์ โดยการจัดอบรมให้ราษฎรได้เรียนรู้และรับทราบถึงพิษภัยในการใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมี ให้ทราบว่าสิ่งไหนควรใช่

      สิ่งไหนควรหลีกเลี่ยง เพราะสารเคมีเป็นอันตรายต่อชุมชนและตัวเกษตรกรเอง นอกจากนี้ยังทำลายสิ่งแวดล้อม แหล่งน้ำ ดิน และอากาศ ก็จะได้รับผลกระทบทั้งหมด

    • ชาวบ้านส่วนใหญ่ที่ทำนา ทำสวน ทำไร่จะต้องการใช้ปุ๋ยและสารเคมีเพราะให้ผลผลิตเร็วโดยไม่คำนึงถึงผลเสียต่อที่ดินและตัวเองในภายหน้า

      ส่วนการใช้ปุ๋ยอินทรีย์และน้ำหมักชีวภาพจะให้ผลผลิตช้ากว่าปุ๋ยเคมี การแก้ปัญหาดังกล่าวจึงต้องจัดให้มีการอบรมให้เกษตรกรทราบถึงพิษภัยของปุ๋ยเคมีและสารฆ่าแมลง

      โดยให้ใช้ได้แต่ลดปริมาณลง จนเกษตรกรหันมาใช้ปุ๋ยอินทรีย์กันอย่างถาวรต่อไป

    • ปัญหาของราษฎรที่เป็นเกษตรกรต้องการผลผลิตที่ได้ผลไวรวดเร็ว โดยคิดว่าการทำเกษตรอินทรีย์จะได้ผลช้าไม่ทันต่อความต้องการ

      การดำเนินการดังกล่าวต้องพยายามทำความเข้าใจกับชาวบ้านเป็นขั้นเป็นตอน


    1. ต้องปรับทัศนคติของชาวบ้านให้ทราบว่าการใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมี เป็นอันตรายต่อชุมชนและตัวเกษตรกรเอง

    2. เมื่อมีการปรับทัศนคติของชาวบ้านก็สามารถลดการใช้สารเคมีลงได้ประมาณ 30 %

    3. ไม่ควรมีการเร่งรัดหรือคาดหมายว่าจะได้ผลรับจากการให้ความรู้มากนัก เพราะชาวบ้านยังยึดติดอยู่กับการกระทำแบบเดิมๆ

  •         ชาวบ้านส่วนใหญ่ที่ทำนา ทำสวน ทำไร่จะต้องการใช้ปุ๋ยและสารเคมีเพราะให้ผลผลิตเร็ว

    โดยไม่คำนึงถึงผลเสียต่อที่ดินและตัวเองในภายหน้า ส่วนการใช้ปุ๋ยอินทรีย์และน้ำหมักชีวภาพ

    จะให้ผลผลิตช้ากว่าปุ๋ยเคมี การแก้ปัญหาดังกล่าวจึงต้องจัดให้มีการอบรมให้เกษตรกร

    ทราบถึงพิษภัยของปุ๋ยเคมีและสารฆ่าแมลง โดยให้ใช้ได้แต่ลดปริมาณลง จนเกษตรกรหันมาใช้ปุ๋ยอินทรีย์กันอย่างถาวรต่อไป

            ปัญหาของราษฎรที่เป็นเกษตรกรต้องการผลผลิตที่ได้ผลไวรวดเร็ว โดยคิดว่าการทำเกษตรอินทรีย์

    จะได้ผลช้าไม่ทันต่อความต้องการ การดำเนินการดังกล่าวต้องพยายามทำความเข้าใจกับชาวบ้านเป็นขั้นเป็นตอน

  • -

  • -