เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

image1

การเลี้ยงปลาดุกในบ่อดิน

โดย : นางสมศรี ทองบุญ ตำแหน่ง : เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน วันที่ : 2017-07-12-18:17:06

ที่อยู่ : 59 หมู่ที่ ๖ ตำบลหน้าพระลาน อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี รหัสไปรษณีย์ 18240

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

๑) ปลาดุกเป็นสัตว์ที่เลี้ยงง่าย โตเร็ว ขายได้ราคาดี

(๒) เป็นอาชีพเสริมที่สร้างรายได้ดีให้กับชาวบ้าน

(๓) คนในหมู่บ้านนิยมรับประทานปลาดุก

วัตถุประสงค์ ->

  

) การเตรียมบ่อดิน ให้ใช้ปูนขาวปรับสภาพดินให้เหมาะกับการเลี้ยงปลาดุก โรยให้ทั่วบริเวณบ่อ แล้วปล่อยน้ำเข้า ประมาณ 50 Cm. ปล่อยทิ้งไว้ 5 วัน โดยสังเกตุจากสีของน้ำให้เป็นสีเขียวก็ใช้ได้ และตรวจวัดความเป็นกรดด่างให้อยู่ 7.5 – 8.5 ถ้ายังไม่ถึงให้เติมปูนขาวเพิ่ม

     ๒) การเตรียมพันธ์ปลา ควรเลือกพันธ์ปลาดุกที่มีความแข็งแรง ว่ายน้ำได้เร็ว ลำตัว หนวด ครีบ หาง สมบูรณ์ ไม่ว่ายน้ำหงายท้องหรือ ตั้งฉากกับน้ำ

(๓) การปล่อยปลาดุกลงสู่บ่อที่เตรียมไว้ ก่อนการปล่อยลูกปลาลงสู่บ่อควรเอาถุงปลาแช่น้ำในบ่อ 10-15 นาที เพื่อเป็นการปรับอุณหภูมิให้เท่ากัน ป้องกันการช็อคน้ำของลูกปลา

(๓) การถ่ายทอดองค์ความรู้

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

(๑) การเรียนรู้ การเอาใจใส่ ดูแลการเลี้ยงปลาดุก

(๒) ปลาดุกเป็นสัตว์ที่เลี้ยงง่าย โตไว เป็นสัตว์เศรษฐกิจที่น่าเลี้ยง และเป็นที่ต้องการของตลาด

          (๓) การไปศึกษาดูงานจากบ่อที่เพาะพันธ์ปลาดุก

อุปกรณ์ ->

(๑) ระวังอาหารปลาที่ขึ้นรา เพราะจะเป็นสาเหตุให้ลูกปลาตายได้จำนวนมาก

(๒)  เลือกอาหารให้เหมาะกับอายุของปลา

- ลูกปลาดุกขนาด 1-4 เซนติเมตร เลือกใช้อาหารปลาดุกขนาดเล็กพิเศษ

- ลูกปลาดุกขนาด 3 เซนติเมตร เลือกใช้อาหารสำหรับปลาดุก 1-3 เดือน

กระบวนการ/ขั้นตอน->

(๑) ควรมีการทำร่มเงาให้เป็นที่พักจากความร้อนของลูกปลา เพื่อลดการตายของลูกปลาจากความร้อน  

(๒) ก่อนการเริ่มปล่อยปลาลงสู่บ่อ ควรมีการวัดอัตราการกินอาหารของลูกปลา เพื่อไม่ให้อาหารมากหรือน้อยเกินไป ซึ่งจะทำให้ผลกำไรน้อยลง

ข้อพึงระวัง ->

รูปประกอบ -> image1

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดสระบุรี
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา