เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

image1

เทคนิคส่งเสริมความรู้ชุมชนสัมมาชีพ (การเลี้ยงแพะ)

โดย : นายเสาขี ทับเที่ยง ตำแหน่ง : ปราชญ์ชุมชน วันที่ : 2017-03-26-16:54:03

ที่อยู่ : 159/1 หมู่ที่ 6 ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

ข้อดีในการเลี้ยงแพะ

1. ให้ผลผลิตและผลตอบแทนเร็ว                      2. ทนทานต่อสภาพภูมิประเทศโดยเฉพาะในเขตพื้นที่แห้งแล้ง

3. การเลี้ยงดูไม่ต้องใช้พื้นที่มาก                       4. กินพืชเช่นใบไม้ใบหญ้าได้หลายชนิด

5. ให้ผลผลิตคุ้มกับการลงทุน

ข้อดีของแพะพันธุ์ลูกผสม

1. ให้เนื้อมากเปอร์เซ็นซากสูง                         2. ใช้ระยะเวลาในการเลี้ยงขุนสั้น

3. เนื้อมีไขมันแทรก                                    4. เนื้อนุ่ม

พันธุ์แพะที่เหมาะในการเลี้ยงขุน

ลูกผสมบอร์(บอร์+ซาแนน หรือ บอร์+แองโกลฯ)

คุณภาพซากแพะเลี้ยงขุนและเลี้ยงแบบธรรมชาติลักษณะของแพะนำมาเลี้ยงขุน

น้ำหนักและอายุของแพะที่นำมาเลี้ยงขุน

1.อายุหย่านม 3-4 เดือน                              2.น้ำหนักเข้าขุนประมาณ 15-20 ก.ก.

3.ระยะเวลาเลี้ยงขุน 3 เดือน                          4.น้ำหนักหลังขุน 25-30 ก.ก.

วัตถุประสงค์ ->

การเตรียมแพะก่อนเข้าขุน

1.ฉีดยาถ่ายพยาธิ-ยาบ้ารุ          2.ฉีดวัคซีนป้องกันโรค              3.ท้าการเจาะเลือดตรวจโรค(มีผลในการเคลื่อนย้าย)

โรงเรือน/คอกแพะขุน

1. โรงเรือนมีหลังคาสามารถกันแดด/กันฝนและศัตรูรบกวน            2. ระบายอากาศได้ดี ไม่อับทึบ

3. ยกพื้นคอกเหนือพื้นดินพอสมควร                                      4. เลี้ยงแบบจ้ากัดบริเวณ

- เลี้ยงปล่อยในคอก                 - เลี้ยงปล่อยในกรง

ลักษณะโรงเรือน/คอกเลี้ยงเลี้ยงขุนแบบจ้ากัดพื้นที่ในกรงไม้

การจัดการ/อาหารเลี้ยงแพะขุน

อาหารหยาบ

- หญ้า เช่น เนเปียร์ปากช่อง1,แพงโกล่าฯลฯ

- พืชตระกูลถั่ว เช่น ฮามาต้า,คาวาเคต,กระถิน เป็นต้น

- ไม้พุ่ม เช่น ใบพุทรา,ใบปอสา,ใบมะขามเทศ เป็นต้น

 

 

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

เป็นที่ต้องการของตลาด

อุปกรณ์ ->

ดูแลเอาใจใส่

กระบวนการ/ขั้นตอน->

-

ข้อพึงระวัง ->

รูปประกอบ -> image1

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดตรัง
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา