เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

image1

เลี้ยงไก่งวง

โดย : นายสุพจน์ สีดาอ่อน ตำแหน่ง : ปราชญ์ชุมชน วันที่ : 2017-08-02-16:46:14

ที่อยู่ : 22 ม.12 ต.ด่านช้าง

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

การเลี้ยงไก่งวงในประเทศโทยเริ่มได้ความนิยมและเลี้ยงกันมากในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ เกษตรกรหลาย พื้นที่เริ่มหันมาเลี้ยงไก่งวง ด้วยมีตลาดรองรับเพิ่มขึ้น อีกทั้งมีชุมชนชาวคริสต์อาศัยค่อนข้างมากในทางโภชนาการ เนื้อไก่งวงมีแคลเซียมสูง มี แคลอรี่ต่่ากว่าไก่ธรรมดา ทั่วไปและมีไขมันอิ่มตัวน้อยกว่าเนื้อสัตว์อื่น ๆ นอกจากนี้ยังมีโปรตีนที่สูงกว่าเนื้อไก่ เนื้อวัวหรือเนื้อหมูและมีกรดอะ มิโน ที่จ่าเป็นต่อการสร้างโปรตีนที่สมบูรณ์ของร่างกาย

วัตถุประสงค์ ->

จะต้องมีรูปร่างขนาดน้่าหนักและเปลือกตรงตามสายพันธุ์โดยที่เปลือกไข่ต้องแข็งไม่อ่อนหรือเปราะ ด๊อกเตอร์คอลลิน ฟรีแมน และทีมนักวิทยาศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเชฟฟิลด์ และวอร์วิคพบว่าโปรตีนชื่อ ovocledidin-17 เป็นกุญแจส่าคัญที่ท่า ให้ไข่มีเปลือกแข็งอย่างที่เห็น และด้วยเหตุผลง่ายๆ ก็คือ โปรตีนที่จ่าเป็นดังกล่าวจะสามารถผลิตได้จากในตัวไก่เท่านั้น ดังนั้นไข่จึงไม่มีวันที่ จะเกิดขึ้นมาก่อนที่จะมีไก่ได้ โปรตีน OC-17 ท่าหน้าที่เป็นตัวกระตุ้น และเริ่มต้นกระบวนการเปลี่ยนสภาพของแคลเซียมคาร์บอเนตจากในตัว ไก่ให้อยู่ใน รูปของเปลือกแข็งที่ใช้ห่อหุ้มไข่แดงและไข่ขาว ซึ่งหากไม่มีไก่ขั้นตอน หรือกระบวนการนี้ก็จะไม่อาจเกิดขึ้นได้และสามารถ น่าไปใช้ในการหาอายุได้อีกด้วยเมื่อท่าความสะอาดไข่เรียบร้อยแล้วก็น่าเข้ามารอพักไว้ในห้องเย็นที่อุณหภูมิประมาณ 18-20องศาเซลเซียสแต่ไม่ควรเก็บเกิน 10วัน เพราะอัตราเชื้อตายจะสูงน่าเข้าตู้ฟักมักจะไม่ค่อยได้ผลตู้ฟักไข่ของศูนย์วิจัยบ่ารุงพันธุ์สัตว์ทับกวางจะใช้ตู้ฟักระบบอัตโนมัติซึ่งจะมีการพลิกกลับไข่ทุกๆชัวโมง โดยมีอุณหภูมิในการฟักที่ 37.5องศาเซสเซียส และความชื้นสัมพัทธ์ระหว่าง 65-70เปอร์เซ็นต์และ ควรจะเปิดตู้ฟักวันละครั้งเพื่อตรวจเช็คว่าเคื่องฟักยังคงท่างานดีอยู่ หรือไม่พร้อมกันนี้จะได้ตรวจเช็คไข่ว่ามีการแตกร้าวหรือไม่หากพบจะ ได้คัดออกจากตู้ฟักการเลี้ยงลูกไก่งวงให้มีเปอร์เซ็นต์ความรอดสูงนั้น ขึ้นอยู่ที่ความเอาใจใส่ดูแลของผู้เลี้ยง โดยจะต้องดูแลเอาใจใส่ตั้งแต่ ขั้นตอนการฟักไข่จนถึงโตพอจับขาย โดยแม่ไก่งวง 1 ตัว จะออกไข่ ประมาณ 20 ฟองแม่ไก่งวงจะฟักไข่เองประมาณ30วัน ไข่ไก่งวงจะใช้เวลาฟักประมาณ28 วัน แต่เมื่อฟักไข่ไปได้ระยะหนึ่งคือประมาณ20-25 วันควรจะตรวจอัตราการรอดหรือว่าไข่แต่ละ ใบมีเชื้อตายหรือไม่โดยการใช้ไฟส่องดูที่เปลือกไข่ หารพบว่ามีเชื้อตายก็ให้คัดออก เหลือแต่ไข่ที่มีเชื้อซึ่งจะพัฒนาเป็นลูกไก่ต่อไปก็ให้แยกไว้ ในกะบะหรือถาดเตรียมเกิดต่อไป

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

  ขยันอดทน

2.      มีการหมั่นศึกษาข้อมูลอยู่ประจำ

3.      มีใจรัก

 

อุปกรณ์ ->

ควรมีโครงสร้างที่แข็งแรง มีขนาดที่เหมาะสมกับจ่านวนไก่ที่เลี้ยงคือ 1 ตัวต่อตาราง เมตร และควรมีวัสดุรองพื้นที่แห้งและสะอาด หน้าโรงเรือนต้องมีอ่างน้่ายาฆ่าเชื้อโรคจากภายนอกสู่โรงเรือนและจากโรงเรือนสู่ภายนอก ควรบุตาข่ายป้องกันสัตว์อื่นเข้ามาในโรงเรือน

กระบวนการ/ขั้นตอน->

-

ข้อพึงระวัง ->

รูปประกอบ -> image1 image2

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดหนองบัวลำภู
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา