เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

การเลี้ยงปลาดุ

โดย : นายสุวัตร สมานมิตร ตำแหน่ง : ปราชญ์ชุมชน วันที่ : 2017-08-24-10:57:43

ที่อยู่ : 91 หมู่ 4 ตาบล ลุ่มระวี

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

การเลี้ยงปลาดุกในกระชังเป็นการใช้แหล่งน้าจากแหล่งน้าตามธรรมชาติให้เป็นประโยชน์ ในการเพิ่มอาหารโปรตีนอีกทางหนึ่ง ซึ่งการเลี้ยงปลาดุกนั้นสามารถเลี้ยงเป็นงานอดิเรกหรือเลี้ยงเป็นอาชีพประจาครอบครัวก็ได้ เพราะจะช่วยเก็บเศษอาหารที่เหลือให้เกิดประโยชน์ และถ้าเลี้ยงในกระชังขนาดใหญ่หลายๆ กระชังแล้วจะสามารถทารายได้ให้กับผู้เลี้ยงได้มาก และสามารถยึดเป็นอาชีพได้ แต่ทั้งนี้หากคิดจะทาจริงจังก็ควรจะศึกษาแนวทางในการเลี้ยง ทดลองการให้อาหารในแบบต่างๆ เพื่อพัฒนาการเลี้ยงปลาดุกของเราได้ด้วย จะได้มีพ่อและแม่พันธุ์ปลาดุก หรือยังจะส่งผลให้สามารถเพิ่มประสิทธิภาพและผลผลิตการเลี้ยงปลาดุกของเราเอง

วัตถุประสงค์ ->

1. อัตราการปล่อยปลาดุกลูกผสม (บิ๊กอุย) ลูกปลาขนาด 2 – 3 ซม. ควรปล่อยประมาณ 40 – 100 ตัว / ตรม. ซึ่งขึ้นอยู่กับกรรมวิธีในการเลี้ยง คือชนิดของอาหาร ขนาดของบ่อและระบบการเปลี่ยนถ่ายน้าซึ่งปกติทั่ว ๆ ไป อัตราปล่อยเลี้ยงประมาณ 50 ตัว/ตรม.และเพื่อป้องกันโรคซึ่งอาจจะติดมากับลูกปลาใช้น้ายาฟอร์มาลินใส่ในบ่อเลี้ยง อัตราความเข้มข้นประมาณ 30 ส่วนในล้าน (3 ลิตร/น้า 100 ตัน) ในวันที่ปล่อยลูกปลาไม่จาเป็นต้องให้อาหาร ควรเริ่มให้อาหารในวันรุ่งขึ้น 2. การให้อาหาร เมื่อปล่อยลูกปลาดุกผสมลงในบ่อดินแล้ว อาหารที่ให้ในช่วงที่ลูกปลาดุกผสมลงในบ่อดินแล้ว อาหารที่ให้ในช่วงที่ลูกปลาดุกมีขนาดเล็ก ( 2 – 3 ซม.) ควรให้อาหารผสมคลุกน้าปั้นเป็นก้อนให้ลูกปลากิน โดยให้กินวันละ 2 ครั้ง หว่านให้กินทั่วบ่อโดยเฉพาะในบริเวณขอบบ่อ เมื่อลูกปลามีขนาดโตขึ้นความยาวประมาณ 5 – 7 ซม. สามารถฝึกให้กินอาหารเม็ดได้หลังจากนั้นเมื่อปลาโตขึ้นจน มีความยาว 15 ซม. ขึ้นไปจะให้อาหารเม็ดเพียงอย่างเดียวหรืออาหารเสริมชนิดต่าง ๆ ได้ เช่นปลาเป็ดผสมราละเอียดอัตรา 9 : 1 หรือให้อาหารที่ลดต้นทุน เช่น อาหารผสมบดจากส่วนผสมต่าง ๆ เช่น กระดูกไก่ ไส้ไก่ เศษขนม ปังเศษเส้นหมี่ เศษเลือดหมู เลือด ไก่ เศษเกี้ยว หรือเศษอาหารต่าง ๆ เท่าที่สามารถหาได้ นามาบดรวมกันแล้วผสมให้ปลากิน แต่การให้อาหาร

ประเภทนี้จะต้องระวังเรื่องคุณภาพของน้าในบ่อเลี้ยงให้ดี เมื่อลูกปลาเลี้ยงได้ประมาณ 3 – 4 เดือนปลาจะมีขนาดประมาณ 200 – 400 กรัม/ตัว ซึ่งผลผลิตที่ได้จะประมาณ 10 -14 ตัน/ไร่ อัตรารอดตายประมาณ 40 – 70% 3.การถ่ายเทน้า เมื่อตอนเริ่มเลี้ยงใหม่ ๆ ระดับความลึกของน้าในบ่อควรมีค่าประมาณ 10 – 40 ซม. เมื่อลูกปลาเจริญเติบโตขึ้น ในเดือนแรกจึงเพิ่มระดับน้าสูงเป็นประมาณ 50 – 60 เซนติเมตร หลังจากย่างเข้าเดือนที่สองควรเพิ่มระดับน้าให้สูงขึ้น 10 เซนติเมตร/อาทิตย์ จนระดับน้าในบ่อมีความลึก 1.20 – 1.50 เมตร การถ่ายเทน้าควรเริ่มตั้งแต่การเลี้ยงผ่านไปประมาณ 1 เดือน โดยถ่ายน้าประมาณ 20 % ของน้าในบ่อ 3 วัน/ครั้ง หรือถ้าน้าในบ่อเริ่มเสียจะต้องถ่ายน้ามากกว่าปกติ

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

1. ทาความเข้าใจก่อนลงมือปฏิบัติจริง
2. เลือกทาอาชีพที่เหมาะสมกับตนเองและชุมชน
3. มีความขยัน อดทน อดออม
4. หมั่นศึกษาหาความรู้ เข้ารับการอบรมจากหน่วยงานต่างๆ
5. แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้อื่น

อุปกรณ์ ->

กระบวนการ/ขั้นตอน->

ข้อพึงระวัง ->

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดสุรินทร์
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา