เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

ปลูกข้าวหอมมะลิ.

โดย : นายสุนทร สุขประเสริฐ ตำแหน่ง : ปราชญ์ชุมชน วันที่ : 2017-06-19-16:43:49

ที่อยู่ : 16 ม.8 ต.บ้านผือ

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

ความเป็นมา อาชีพหลักของบ้านเปือย หมู่ที่ 8 ต าบลบ้านผือ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลัก คือ ท านา โดยเฉพาะการปลูกข้าวหอมมะลิ ซึ่งเป็นข้าวที่ชาวบ้านขามท ามาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นข้าวที่เมื่อหุงสุก แล้วจะมีรสชาติหอม นุ่ม อร่อย แต่ในการท านานั้นส่วนใหญ่เกษตรกรจะใช้สารเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิต รวมทั้ง ครอบครัวของของปราชญ์เอง ท าให้สุขภาพร่างกายได้รับสารพิษเป็นเวลานาน จึงมีความคิดอยากจะท านา เกษตรอินทรีย์ปลูกข้าวหอมมะลิ ซึ่งเป็นการท านาที่หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีหรือสารสังเคราะห์ต่างๆ เช่น ปุ๋ยเคมี สารควบคุมการเจริญเติบโต สารควบคุมและก าจัดวัชพืช สารป้องกันก าจัดโรค แมลงและศัตรูข้าวในทุกขั้นตอน การผลิต และในระหว่างการเก็บรักษาผลผลิต โดยมุ่งเน้นการใช้สารสกัดจากพืชที่ไม่มีพิษต่อคนหรือไม่มีสารพิษ ตกค้างปนเปื้อนในผลผลิต ดิน และน า ในขณะเดียวกันก็เป็นการรักษาสภาพแวดล้อม ท าให้ได้ผลิตผลข้าวที่มี คุณภาพดี ปลอดภัยจากอันตรายของสารตกค้าง ส่งผลให้ผู้บริโภคมีสุขภาพอนามัยแข็งแรง และมีคุณภาพชีวิตดี ขึ้น

วัตถุประสงค์ ->

การท าเกษตรอินทรีย์เป็นระบบการผลิตทางการเกษตรที่เน้นเรื่องของธรรมชาติเป็นส าคัญ ได้แก่ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ การรักษาสมดุลธรรมชาติและการใช้ ประโยชน์จากธรรมชาติ เพื่อการผลิตอย่างยั่งยืน เช่น ปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ของดิน โดยการปลูกพืช หมุนเวียน การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในไร่นา ควบคุมโรคแมลงและศัตรูข้าวโดยวิธีผสมผสานที่ไม่ใช้สารเคมี การเลือกใช้ พันธุ์ข้าวที่เหมาะสม มีความต้านทานโดยธรรมชาติ รักษาสมดุลของศัตรูธรรมชาติ การจัดการพืช ดิน และน้ า ให้ ถูกต้องเหมาะสมกับความต้องการของต้นข้าว เพื่อท าให้ต้นข้าวเจริญเติบโตได้ดี มีความสมบูรณ์แข็งแรงตาม ธรรมชาติ การจัดการสภาพแวดล้อมไม่ให้เหมาะสมต่อการระบาดของโรค แมลง และศัตรูข้าว เป็นต้น การ ปฏิบัติเช่นนี้ก็สามารถท าให้ต้นข้าวที่ปลูกให้ผลผลิตสูง ซึ่งการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์มีวิธีการปฏิบัติ เช่นเดียวกับการผลิตข้าวโดยทั่วไป จะแตกต่างกันที่ต้องหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีสังเคราะห์ในทุกขั้นตอนการผลิต ดังน

1) การเลือกพื้นที่ปลูก 2) การเลือกใช้พันธุ์ข้าว 3) การเตรียมเมล็ดพันธุ์ข้าว 4) การเตรียมดิน 5) วิธีการปลูก 6) การจัดการความอุดมสมบูรณ์ของดิน 7) ระบบการปลูกพืช 8) การควบคุมวัชพืช 9) การป้องกันและก าจัดโรค แมลง และศัตรูพืช 10) การจัดการน้ า 11) การเก็บเกี่ยว การนวดและการลดความชื่น 12) การเก็บรักษาข้าวเปลือก 13) การสี 14) การบรรจุหีบห่อเพื่อการค้า

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

1) การหมั่นเข้ารับการฝึกอบรม และแสวงหาความรู้เพิ่มเติม 2) ครอบครัวมีส่วนร่วมในการท าเกษตรอินทรีย์ 3) ความอดทนในการท างาน - เทคนิคที่ท าให้เกิดความส าเร็จในการท างาน คือ การท างานต้องรอบคอบ ช่างสังเกต มีเวลา เอาใจใส่ในการท างาน และต้องขยัน อดทน

อุปกรณ์ ->

ต้องระวังไม่ให้มีเมล็ดข้าวอื่นเจือปน

กระบวนการ/ขั้นตอน->

ข้อพึงระวัง ->

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดสุรินทร์
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา