เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

เกษตรอินทรีย์ผสมผสาน

โดย : นายสุรศักดิ์ สิงห์โต ตำแหน่ง : ปราชญ์ชุมชน วันที่ : 2017-06-19-15:14:30

ที่อยู่ : 62 ม.3 ต.เป็นสุข

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

เริ่มจากครอบครัวเป็นต้นแบบในการท าการเกษตร และช่วยงานมาตั้งแต่ยังเด็ก ได้ซึมซับ สังเกต และได้ความรู้ เมื่อโตขึ้นได้มีโอกาสไปอบรมศึกษาดูงานยังที่ต่างๆ ท าให้เห็นว่าในการจะท าการเกษตรจะให้ ประสบความส าเร็จนั้น เราไม่ควรปลูกพืชเชียงเดี่ยว ต้องปลูกแบบผสมผสาน ปลูกพืชที่ใช้ระยะเวลาในการ เจริญเติบโตสั้น ขายได้ทุกวัน เช่น พืชผักสวนครัวต่างๆ ปลูกพืชหมุนเวียนที่ให้รายได้เป็นรายเดือน รายสาม เดือน เช่น ปลูกข้าวหอมมะลิ ปลูกถั่ว ข้าวโพด ฯลฯ แล้วแต่ระยะเวลาการเพาะปลูกของแต่ละชนิด มีการปลูก ไม้ยืนต้น เลี้ยงสัตว์เลี้ยงโค เลี้ยงปลา โดยการท าเกษตรแบบผสมผสานนี้ จะท าให้เรามีรายได้หมุนเวียนเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ เป็นการรักษาสมดุลธรรมชาติ เพราะพืชแต่ละชนิดเกื้อกูลกัน บางชนิดเป็นปุ๋ยบ ารุงดิน ปัจจุบันใน พื้นที่ 4 ไร่ แบ่งออกเป็นนาข้าว และพืชอื่นหลังจากเสร็จท านา 2 ไร่ ขุดสระ 1 ไร่ ปลูกหญ้าและคอกเลี้ยงสัตว์ อีก 1 ไร่ ท าให้มีรายได้เพิ่มขึ้นและไม่ต้องกังวลกับราคาผลผลิตเพราะเราปลูกพืชหลากหลาย ท าให้เป็นต้นแบบ แก่คนในชุมชนได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และขยายผลให้เกษตรในชุมชนได้น าแนวคิดนี้ไปปรับใช้ในครอบครัว ต่อไป

วัตถุประสงค์ ->

เวลาปลูกพืชต้องดูระยะเวลาที่เหมาะสม เช่น ช่วงไหนฝนจะตก อากาศจะหนาว ฝนจะทิ้งช่วง ตอนไหน พืชชนิดแต่ละชนิดจะสามารถเจริญเติบโตได้ดีในสภาพภูมิอากาศที่แตกต่างกัน และพืชแต่ละชนิดก็ จะใช้น้ าไม่เท่ากัน บางชนิดใช้น้ าน้อย บางชนิดใช้น้ ามาก อากาศร้อนหรือหนาวก็มีผลกระทบ ตลอดจนการ คัดเลือกพันธุ์พืชผักต่างๆ จะต้องเลือกพันธุ์ที่ดีมีคุณภาพ การท าเกษตรผสมผสานนี้ จ าเป็นอย่างยิ่งที่เราจะต้อง ศึกษาพันธ์พืชแต่ละชนิด ชนิดใดปลูกใกล้กันได้ ชนิดใดปลูกใกล้กันแล้วจะแย่งอาหารกัน ซึ่งจะส่งผลถึงการ เจริญเติบโต

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

- เทคนิคที่ท าให้เกิดความส าเร็จในการท างาน 1) ต้องหมั่นศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา 2) ดูตัวอย่างจากผู้น าที่ประสบความส าเร็จ 3) ศึกษาและดูความต้องการของตลาด 4) ไม่ปลูกพืชชนิดเดียว ให้ปลูกหมุนเวียน ผสมผสาน

อุปกรณ์ ->

การปลูกพืชผักทุกอย่างอาจจะไม่ เป็นไปตามขั้นตอนตามทฤษฎีเสมอไป เราจะต้องมีการปรับปรุง/ดัดแปลงและปรับเปลี่ยนวิธีการปลูกให้ เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ของเรา เช่น อาจจะบอกและเจริญเติบโตไม่ตรงตามระยะเวลา ต้องสังเกตว่าสาเหตุที่ พืชไม่งอกเพราะอะไร ดินแห้งหรือชุ่มเกินไป หรือใส่ปุ๋ยรองพื้นมากเกินไปหรือไม่ จะต้องมีการจดบันทึกจาก การสังเกตไว้ตลอด เพื่อปรับปรุงในการปลูกครั้งต่อไป

1) ต้องมีแหล่งน้ าเพื่อใช้ในการเพาะปลูกอย่างเพียงพอ 2) ต้องหมั่นสังเกตความเปลี่ยนแปลงของพืชอย่างต่อเนื่องและสม่ าเสมอ 3) การดูแลเอาใจใส่ ต้องมีความต่อเนื่อง และต้องขยันมากๆ - วิธีการแก้ไขเมื่อเกิดความผิดพลาด 1) ปรึกษาผู้ที่มีความรู้ ความช านาญในด้านนั้นๆ เพื่อหาแนวทางแก้ไข 2) ปลูกพืชชนิดอื่นหมุนเวียนในพื้นที่เดิม 3) ปรับปรุงวิธีการปลูกใหม

กระบวนการ/ขั้นตอน->

ข้อพึงระวัง ->

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดสุรินทร์
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา