เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

เทคนิคการทำพานบายศรีฯ

โดย : นางสาวสุพิน บัวขันธ์ ตำแหน่ง : ปราชญ์ชุมชน วันที่ : 2017-04-03-18:20:45

ที่อยู่ : บ้านเลขที ๘๒ หมู่ที่ ๕ ตำบลห้วยตึ๊กชู

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

การทำพานบายศรี ได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษได้เคยปฏิบัติกันสืบทอดต่อๆ กันมา ถือกันว่าเป็นสิริมงคลอันดี และเกิดจากความชอบงานหัตถกรรม  งานศิลปะอื่น ๆ  และได้มีโอกาสศึกษางานศิลปะมากขึ้น  เช่นการจับผ้า  การจัดดอกไม้ 

วัตถุประสงค์ ->

บายศรีต้น  เป็นบายศรีที่ทำด้วยใบตองมีแป้นไม้เป็นโครง มีลักษณะอย่างบายศรีของราษฎร แต่จะมี       3 ชั้น 5 ชั้น 7 ชั้น และ 9 ชั้น ส่วนใหญ่ถ้าเป็น 9 ชั้น  โอกาสในการใช้บายศรี ส่วนใหญ่จะใช้ในการทำขวัญต่างๆ        ที่เป็นประเพณีเกี่ยวกับชีวิต เช่น การทำขวัญเดือน ทำขวัญนาค ทำขวัญแต่งงาน (นิยมในภาคเหนือและอีสาน)          ทำขวัญนา  ทำขวัญแม่โพสพ  เป็นต้น รวมไปถึงพิธีกรรมที่เกี่ยวกับการทำมาหากิน  การบวงสรวงสังเวยและการสมโภชต่างๆ เช่น การตั้งศาลพระภูมิ การวางศิลาฤกษ์ การไหว้เทวดาอารักษ์ การบูชาครูช่าง เป็นต้น

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

บายศรีต้น  เป็นบายศรีที่ทำด้วยใบตองมีแป้นไม้เป็นโครง มีลักษณะอย่างบายศรีของราษฎร แต่จะมี       3 ชั้น 5 ชั้น 7 ชั้น และ 9 ชั้น ส่วนใหญ่ถ้าเป็น 9 ชั้น  โอกาสในการใช้บายศรี ส่วนใหญ่จะใช้ในการทำขวัญต่างๆ        ที่เป็นประเพณีเกี่ยวกับชีวิต เช่น การทำขวัญเดือน ทำขวัญนาค ทำขวัญแต่งงาน (นิยมในภาคเหนือและอีสาน)          ทำขวัญนา  ทำขวัญแม่โพสพ  เป็นต้น รวมไปถึงพิธีกรรมที่เกี่ยวกับการทำมาหากิน  การบวงสรวงสังเวยและการสมโภชต่างๆ เช่น การตั้งศาลพระภูมิ การวางศิลาฤกษ์ การไหว้เทวดาอารักษ์ การบูชาครูช่าง เป็นต้น

อุปกรณ์ ->

กระบวนการ/ขั้นตอน->

ข้อพึงระวัง ->

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดศรีสะเกษ
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา