เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

image1

เทคนิคการสร้างสัมมาชีพชุมชน บ้านโนนคูณ หมู่ที่ 1 ตำบลโนนคูณ อำเภอยางชุมน้อย จังหวัดศรีสะเกษ

โดย : นายอนันต์ จันกรณ์ ตำแหน่ง : เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน วันที่ : 2017-03-23-21:59:59

ที่อยู่ : 28/1 ม.1 ตำบลโนนคูณ

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

 

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) ได้กำหนด

ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมลาในสังคม เป็น 1 ใน 10 ยุทธศาสตร์ การพัฒนาตาม

แผน และรัฐบาลได้กำหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดิน จานวน 11 ด้าน ซึ่งเป็นนโยบายด้านการลด

ความเหลื่อมลาของสังคมและการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการของรัฐ เป็นหนึ่งในนโยบายสำคัญที่มุ่งหวัง

แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับปากท้องของประชาชนในระดับล่างที่เป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ โดยมีแผนงานที่สำคัญ

คือแผนงานการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง ซึ่งได้มอบหมายให้กระทรวงมหาดไทย โดย

กรมการพัฒนาชุมชน เป็นหน่วยงานหลักในการบูรณาการไปสู่การปฏิบัติ

ปัจจุบันสถานการณ์การประกอบอาชีพของประชาชนภาคการเกษตรในชุมชน มีความเสี่ยงที่

เกิดจากการประกอบอาชีพแบบดังเดิม ไม่มีอาชีพหรือรายได้เสริมหลังฤดูการผลิต มีการรวมตัวกันเป็นกลุ่ม

อาชีพค่อนข้างน้อย หรือมีแต่ไม่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาอย่างพอเพียง ประชาชนเคลื่อนย้ายไปประกอบ

อาชีพในเมือง ซึ่งส่วนราชการมีศูนย์ฝึกอาชีพ/แหล่งเรียนรู้การประกอบอาชีพ แต่ไม่ได้ใช้ประโยชน์เท่าที่ควร

ปราชญ์ชุมชนด้านอาชีพที่เชี่ยวชาญและประสบผลสำเร็จในการประกอบอาชีพในหมู่บ้าน มีส่วนน้อยที่สามารถ

ถ่ายทอดให้คนอื่นนาไปทาตามให้สำเร็จได้

ในปี 2560 กรมการพัฒนาชุมชน ได้มุ่งเน้นการยกระดับเศรษฐกิจ เพื่อทาให้ชุมชนมีรายได้

เพิ่มขึ้น โดยการสร้างสัมมาชีพและมีรายได้เพิ่มขึ้น โดยการสร้างสัมมาชีพชุมชนบนหลักปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียง ให้ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชีพและมีรายได้ โดยให้ชาวบ้านสอนชาวบ้านในสิ่งที่เขาอยากทา ฝึก

ปฏิบัติจริงให้สามารถนาไปประกอบอาชีพได้ จนพัฒนาเป็นอาชีพที่สร้างรายได้ ให้กับครัวเรือน และต่อยอดสู่

การรวมกลุ่ม จัดตั้งเป็นกลุ่มอาชีพที่มีความเข้มแข็งต่อไป

วัตถุประสงค์ ->

 

(1) การพัฒนาทักษะการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับปราชญ์ชุมชน (วิทยากรสัมมาชีพชุมชน) หมู่บ้านละ 1 คน

 

(2) วิทยากรสัมมาชีพชุมชนกลับไปสร้างทีม โดยคัดเลือกปราชญ์ชุมชนเข้าร่วมเพิ่มเติมอีก ๔คน/หมู่บ้าน รวมเป็น 5 คน (ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน)

(3) ร่วมกับ “ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน” สังเคราะห์ข้อมูลอาชีพ รวมถึง

ทักษะพื้นฐาน(ทุนเดิม) ของผู้แทนครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการฝึกอาชีพ จานวน 20 คน (ครัวเรือนละ 1 คน)

โดยการคัดเลือกจากทะเบียนครัวเรือนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ. ปี 2559) เป็น

อันดับแรก และแบบลงทะเบียนแบบสำรวจความต้องการฝึกอาชีพของคนในชุมชน ที่สมัครใจและตั้งใจฝึก

อาชีพ เพื่อประกอบอาชีพนั้นให้เกิดรายได้

(4) ร่วมกับ “ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน”ดำเนินการฝึกอาชีพอบรม

พัฒนาความรู้ และเสริมสร้างทักษะการพัฒนาอาชีพตามความต้องการของครัวเรือน ให้แก่ผู้แทนครัวเรือน

เป้าหมาย จานวน 20 คน ระยะเวลา 5 วัน

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

6.1 ชุมชนเกิดความภาคภูมิในภูมิปัญญาทีมีในชุมชนส่งผลให้เกิดความต่อเนื่องในการทำกิจกรรม

6.2 เน้นภูมิปัญญาทีดี มีในชุมชน และเป็นอาชีพที่เกิดจากความต้องการของคนในชุมชนเอง

6.3 ทุกกระบวนการผ่านการยอมรับจากเวทีประชาคมของหมู่บ้าน

6.4 ความร่วมมือร่วมใจของคนในชุมชนเอง

อุปกรณ์ ->

กระบวนการ/ขั้นตอน->

ข้อพึงระวัง ->

รูปประกอบ -> image1

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดศรีสะเกษ
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา