เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

ปลูกผักปลอดสารพิษ

โดย : นางเพ็ญศรี หาญนิตย์ ตำแหน่ง : เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน วันที่ : 2017-08-08-10:37:30

ที่อยู่ : บ้านเลขที่ 2235/1 หมู่ 3 ตำบล ชมพู อำเภอ เมืองลำปาง จังหวัด ลำปา

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

การบริโภคผักจำเป็นต้องเลือกผัก จึงทําใหเกษตรกรที่ปลูกผัก จะตองใชสารเคมีปองกันและกําจัดแมลงฉีดพนในปริมาณที่มาก เพื่อใหไดผักที่สวยงามตามความ ตองการของตลาด เมื่อผูซื้อนํามาบริโภคแลวอาจไดรับอันตรายจากสารพิษที่ตกคางอยูในพืชผักนั้นได เพื่อเปนการแกปญหาดังกลาว เกษตรกรจึงควรหันมา ทําการปลูกผักปลอกภัยจากสารพิษ โดยนําเอา วิธีการปองกันและกําจัดศัตรูพืชหลายวิธีมาประยุกตใชรวมกัน เปนการทดแทนหรือลดปริมาณการใช สารเคมีใหนอยลง เพื่อความปลอดภัยของเกษตรกร ผูบริโภคและสิ่งแวดลอม

วัตถุประสงค์ ->

วิธีการปลูกผักปลอดสาร • ขั้นตอนแรกควรเลือกสถานที่ที่เหมาะสมกอน เชน บริเวณหลังบานที่ใดที่หนึ่ง ที่มีแสงแดดสงถึง หรือบริเวณใกล แหลงน้ำ ขนาดพื้นที่เทาไรก็ไดตามความตองการของผูปลูก • การทําแปลงผักมีหลายรูปแบบตามความเหมาะสม และความชอบของแตละคน เชน

          ๑. ปลูกในภาชนะ เชน ปลูกในลังกระดาษ ถังเกา ๆ ลังโฟม ในกระถางเปนตน

           ๒. ปลูกโดยการทําแปลงเพาะแบบธรรมดาทั่วไป เชน การยกรองแปลงเพาะ และปลูกเปนแถว ๆ

          ๓. ปลูกในกะบะ เชน กะบะที่ทําดวยไมเปนรูป สี่เหลี่ยม หรือกะบะที่กั้นดวยเศษอิฐ กอนหิน หรือแมแต สังกะสีเกา ๆ และกระเบื้องเกา ๆ ก็สามารถนํามากั้นทําเปน กะบะไดทั้งนั้น

          ๔. ปลูกโดยการขุดเปนหลุม หรือรองลึกประมาณ ๑- ๒ คืบ แลวเอาปุยหมักผสมกับหนาดินลงไปในหลุม หรือรอง กอนปลูก

          การเตรียมดิน • ขุดดินหรือไถตากทิ้งไว 7 วัน เพื่อฆาเชื้อโรคและ กําจัดวัชพืช ขนาดแปลงเพาะ กวาง 1 ม.- ยาว 1.5 -2 ม. • ปรับสภาพดินดวยปูนขาว การเตรียมเมล็ดพันธุ • เลือกซื้อเมล็ดพันธุที่เราตองการควรเลือกซื้อตราที่ เชื่อถือได เชน ตราศรแดง • นําเมล็ดพันธุที่ซื้อมาไปเพาะในแปลงเพาะที่เตรียม ไวกรณีเปนผักคะนาหรือผักกาด

          การปลูก • นําเมล็ดที่เตรียมไวนําไปหยอดหลุมๆละ 2-3 เมล็ด ถาเปนถั่วฝกยาวใชระหวางตน 40 ซม. ระหวางแถว 80 ซม. คะนา ผักกาด ใชระหวางตน - แถว 15 ซม. • กอนปลูกควรใชปุยหมักผสมดินในแปลงปลูก • เมื่อปลูกเสร็จใชฟางขาวคุมแปลงปลูก การดูแลรักษา • ใชน้ำหมักชีวภาพจากการหมักที่ใชเชื้อ พด.2 ใน อัตรา 2-3 ซอนตอน้ำ 10 ลิตร พนทุกๆ 7 วัน • การกําจัดวัชพืชใชวิธีการถอน การเก็บเกี่ยว • เก็บตามอายุของผัก ถั่วฝกยาว ประมาณ 45-60 วัน, คะนา 45-55 วัน, ผักกาด 30-35 วัน การจําหนาย • จําหนายตลาดในหมูบาน • มีแมคาจากตลาดในอําเภอมารับที่แปลงปลูก

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

พืชบางชนิดเมื่อได้รับสารนี้แล้วอาจเกิดอาการใบไหม้เหี่ยวย่นหรือต้นแคระแกร็น ดังนี้เมื่อพบอาการต่างๆ เหล่านี้ ก็ควรจะงดใช้สารสกัดจากสะเดาทันทีชนิดของแมลงที่สามารถกำจัดได้ด้วยสะเดา

1. ชนิดที่ใช้แล้วได้ผลดี ได้แก่ หนอนใยผัก หนอนหนังเหนียว หนอนกระทู้ชนิดต่างๆ หนอน

กัดกินใบ หนอนเจาะยอด หนอนชอนใบ หนอนม้วนใบ หนอนหัวกระโหลก

2. ชนิดที่ใช้แล้วได้ผลปานกลาง ได้แก่ เพลี้ยจักจั่น หนอนเจาะ สมอฝ้าย หนอนต้นกล้าถั่ว

แมลงหวี่ขาว แมลงวันทอง เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยอ่อน

3. ชนิดที่ใช้แล้วได้ผลน้อย ได้แก่ หนอนเจาะฝักถั่ว เพลี้ยไฟ ไรแดง มวนและด้วงชนิดต่างๆ

พืชผักที่ใช้สารสกัดจากสะเดาได้ผล ได้แก่ ผักคะน้า กวาง ผักกาดหอม กะหลํ่าปลี กะหลํ่าดอก

แตงกวา แตงโม แตงเทศ มะเขือเทศ มะเขือยาว หน่อไม้ฝรั่ง ข้าวโพดอ่อน พริกขี้หนู ตำ ลึง มะนาว

มะกรูด

อุปกรณ์ ->

เกษตรกรต้องหมั่นตรวจ

แปลงปลูกพืชของตนอย่างสมํ่าเสมอ เพื่อเป็นการพยากรณ์สถานการณ์ของศัตรูพืชในแปลงของตน เมื่อ

ทราบสถานการณ์แล้วจึงพิจารณาเลือกใช้วิธีการป้องกันและกำ จัดที่เหมาะสม แต่ในกรณีที่ไม่สามารถ

ควบคุมหรือไม่มีวิธีการควบคุมใดที่ใช้ได้ผลแล้ว เกษตรกรอาจใช้สารเคมีในการควบคุมศัตรูพืชนั้นๆ คือ

1. เป็นสารเคมีที่เหมาะสมกับศัตรูพืชชนิดนั้น

2. สารเคมีนั้นสลายตัวได้เร็ว

3. ใช้ในอัตราที่เหมาะสมตามคำ แนะนำ

4. เว้นระยะการเก็บเกี่ยวผลผลิตตามคำ แนะนำ

ทั้งนี้เพื่อไม่ก่อให้เกิดอันตราย หรือมีสารพิษตกค้างในพืชผักนั้น และมีความปลอดภัยต่อ

ผู้บริโภค

กระบวนการ/ขั้นตอน->

การลดต้นทุนโดยการทำปุ๋ยใช้เองทำให้ปลอดภัย

ข้อพึงระวัง ->

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดลำปาง
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา