เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

จักสารไม้ไผ่

โดย : นายประเสริฐ ศิริเกษ ตำแหน่ง : เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน วันที่ : 2017-08-19-07:33:56

ที่อยู่ : 8 หมู่ที่ 4 ตำบลหนองไผ่

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

การจักสานไม้ไผ่ สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ ซึงสมัยก่อนปลูกกอไผ่รอบหมู่บ้าน คนในหมู่บ้านประกอบอาชีพเกษตรกรรม     ทำนา เป็นอาชีพหลัก มีการดำรงชีพด้วยการปลูกข้าว หาอาหารตามแหล่งน้ำและป่าธรรมชาติกินกัน จึงมีความจำเป็นต้องมีเครื่องมืออุปกรณ์ในการทำมาหากิน จึงได้ใช้ไม้ไผ่ที่มีอยู่เป็นจำนวนมากในหมู่บ้าน จักสานเป็นเครื่องมือในการนึ่งข้าวเหนียวกิน จับปลา และเครื่องใช้ในครัวเรือน เช่น มวยนึ่งข้าว ไซดักปลา ข้องใส่ปลา ตะกร้า กระจาด กระด้ง ตระแกรง ฯลฯ จึงมีการสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น 
คน และได้มีการดำเนินกิจกรรมมาจนถึงปัจจุบันนี้

วัตถุประสงค์ ->

1. นำไม้ไผ่มาผ่าเป็นซีกเล็ก ๆ ผ่าเป็นแผ่นบางเพื่อใช้สานเหลาไม้ไผ่ให้ได้ตามขนาดที่ต้องการจะผลิต ได้แก่ ความใหญ่-เล็ก หนา-บาง ความยาวเส้นตอก 
2.นำตอกไม้ไผ่ที่เลาแล้วมาจักสานเป็นลายขัด
3.นำตอกที่สานเป็นลายขัด มาตัดเป็นรูปให้ได้พอดีกับขนาดที่ต้องการ 
4.นำไม้ไผ่เหลาเป็นแผ่นยาว 2 เส้น ขดเป็นวงกลมให้ได้พอดีกับขนาดที่ต้องการ นำไปประกบกับลายขัดที่สานไว้ ด้านนอกและด้านใน และร้อยเชือกไนล่อนหรือเส้นหวาย รอบขอบให้แน่น
5.ลงแล็กเกอร์ทั้งด้านนอกด้านในนำไปตากให้แห้ง เพื่อกัดปลวกมอด

 

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

พัฒนารูปแบบ ลวดลายหลากหลาย ตามความตั้งการของตลาด

อุปกรณ์ ->

ใช้วัตถุดิบไม้ไผ่ที่แก่จัด เหลาเป็นเส้นตอกที่มีขนาดความหนา บาง พอดีเท่ากันทุกเส้น ตากแดดให้แห้งก่อนนำมาจักสาน

กระบวนการ/ขั้นตอน->

ข้อพึงระวัง ->

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดร้อยเอ็ด
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา