เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

การทำบายศรี

โดย : นายบุญส่ง ธานีวรรณ ตำแหน่ง : ปราชญ์ชุมชน วันที่ : 2017-07-03-16:57:30

ที่อยู่ : บ้านเลขที่ 51 บ้านเชียงขวัญ ม.10 ต.เชียงขวัญ อ.เชียงขวัย จ.ร้อยเอ็ด

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

พิธีสู่ขวัญ  หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "พิธีบายศรีสู่ขวัญ" เป็นพิธีเก่าแก่ของชาวไทยแทบทุกภาค การทำพิธีอาจจะผิดแผกแตกต่างกันไปบ้าง แต่หลักใหญ่ ๆ ยังคงเหมือนกัน ซึ่งพิธีสู่ขวัญนี้จะทำกันได้ในทุกโอกาส ทั้งในมูลเหตุแห่งความดีและไม่ดี พิธีสู่ขวัญจึงเป็นได้ทั้งการแสดงความชื่นชมยินดี และเป็นการปลอบใจให้เจ้าของขวัญ ตามความเชื่อที่ว่าคนเราเมื่อเกิดมาในโลกจะมี "ขวัญ" ประจำกายคอยช่วยพิทักษ์รักษาเจ้าของขวัญให้มีความสวัสดี ดังนั้น พิธีสู่ขวัญจึงถือเป็นประเพณีสำคัญที่จะทำพิธีเรียกขวัญให้มาสถิตอยู่กับตัว พานบายศรีจึงเป็นอีกปัจจัยที่สำคัญในการประกอบพิธีกรรมดังกล่าว เหตุที่ทำให้ข้าพเจ้าเกิดแรงบันดาลใจในการทำพานบายศรีคือการอนุรักษ์สืบทอดภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น การทำพานบายศรีนอกจากจะเป็นการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นแล้ว ยังเป็นอาชีพเสริมและสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนและชุมชนได้อย่างดียิ่ง

วัตถุประสงค์ ->

วัตถุดิบ

ใบตอง

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

ความขยันหมั่นเพียร  การเรียนรู้เพื่อการพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา การศึกษาจากผู้รู้ผู้เชี่ยวชาญ นำองค์ความรู้ใหม่ๆผนวกกับภูมิปัญญาดั้งเดิม มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการทักษะการทำบายศรี

อุปกรณ์ ->

เมื่อห่อริ้วจนเสร็จในแต่ละริ้วแล้ว จึงนำริ้วที่ได้ลงแช่ในน้ำผสมสารส้มที่เตรียมไว้ประมาณ 20 นาที เพื่อให้ใบตองเข้ารูปทรง อยู่ตัวตามที่ได้พับและห่อ จากนั้น จึงนำไปแช่ในน้ำผสมน้ำมันมะกอกต่อไป เพื่อให้ริ้วมีความเป็นมันวาว เน้นสีเขียวเข้มของใบตองมากขึ้น และมีกลิ่นหอมในตัวเอง

กระบวนการ/ขั้นตอน->

-

ข้อพึงระวัง ->

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดร้อยเอ็ด
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา