เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

image1

การทอผ้าพื้นเมือง

โดย : นางสมร ศรีกงเหนือ ตำแหน่ง : ปราชญ์ชุมชน วันที่ : 2017-06-28-12:38:36

ที่อยู่ : บ้านเลขที่ ๑๓๙ บ้านหัน หมู่ที่๕ ตำบลขวาว

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

เป็นอาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายได้หลังจากการทำอาชีพหลักนอกฤดูการเกษตร

วัตถุประสงค์ ->

อุปกรณ์ในการเตรียมไหม๑. เตา    ๒. เหยือกตวงน้ำ
๓. ปรอทวัดความร้อน   ๔. หม้อย้อมไหม
๕ ห่วงย้อมไหม
อุปกรณ์ในการเตรียมไหม

อุปกรณ์ในการทอผ้าไหม
๑. กี่      ๒. ฟืม
๓. กระสวย    ๔. เครือหูก
๕. หลอดไหม   ๖. ไม้พันฮูก


๑. อัก    ๒. หลา
๓. กง      ๔. ไม้คอนอัก
๕. ก้อนพัดไหม   ๖. โฮงมัดหมี่
๗. กระบอกไหม   ๘. หลักเฟือ
๙. โฮงค้นหมี่   ๑๐. หลา ๕ ใน

 กระบวนการ/ขั้นตอน->

1.ฟอกไฟม   2. กวักไหม  3.กรอใส่หลอด  4. รังไหม หรือตีเหลียวไหม คือ การทำรังไหม หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า การเสียขี้ไหม ในภาษาคนทอผ้า เพื่อให้เส้นไหมเรียบ สวยงาม5. การพัดไหม คือ เป็นการเรียงเส้นไหม รวมกัน ให้เป็น ใจหรือเครือ เพื่อนำไปย้อมสี 6. ค้นไหม โดยการเตรียมค้นไหม จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ การเตรียมเส้นไหมพุ่ง และ การเตรียมไหมเครือ (ไหมเส้นยืน) 7.สืบไหมหรือการสืบหูก 8.พันไหม 9. กางหูกไหม คือ ขั้นตอนในการนำหูกไหมที่พร้อมจะทอแล้ว ไปกางบนกี่ เพื่อที่เตรียมการทอผ้าต่อไป 10. การทอผ้าไหม เป็นขั้นตอนสุดท้ายก่อนที่จะออกมาเป็นผ้าผืน

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

ขยัน อดทน มีความเพียรสูง

อุปกรณ์ ->

1. การฟอกไหม ต้องมีการวัดอุณภูมิให้มีความคงที่อยู่เสมอ ประมาณ ๘๐ องศา เพื่อไม่ให้เส้นไหมแตก 
2. การพันไหม จะต้องพันให้เรียบและตึงที่สุด เพื่อให้ลายเส้นไหม เรียบ และสวยงาม
3. การทอผ้าไหม ต้องใช้น้ำหนักในการตำให้พอดี สม่ำเสมอ

กระบวนการ/ขั้นตอน->

1. การฟอกไหม ต้องมีการวัดอุณภูมิให้มีความคงที่อยู่เสมอ ประมาณ ๘๐ องศา เพื่อไม่ให้เส้นไหมแตก 
2. การพันไหม จะต้องพันให้เรียบและตึงที่สุด เพื่อให้ลายเส้นไหม เรียบ และสวยงาม
3. การทอผ้าไหม ต้องใช้น้ำหนักในการตำให้พอดี สม่ำเสมอ

ข้อพึงระวัง ->

รูปประกอบ -> image1

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดร้อยเอ็ด
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา