เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

ปลูกกล้วย

โดย : นายปัดสา บุญบรรลุ ตำแหน่ง : ปราชญ์ชุมชน วันที่ : 2017-09-25-22:32:43

ที่อยู่ : 26 หมู่ 10 ตำบลคำเตย

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

การส่งเสริมสัมมาชีพชุมชน เป็นภารกิจตามนโยบายที่สำคัญของรัฐบาลในการลดความเลื่อมล้ำทางสังคม เพื่อสร้างโอกาสเข้าถึงบริการของรัฐ โดยการขับเคลื่อนการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการส่งเสริมอาชีพของประชาชนในหมู่บ้านเป้าหมาย ด้วยกระบวนการให้ชาวบ้านสอนชาวบ้าน เพื่อให้ครัวเรือนที่เข้ารับการฝึกอาชีพ มีความรู้สามารถนำไปปฏิบัติประกอบเป็นอาชีพ สร้างรายได้ให้กับครัวเรือน และต่อยอดสู่การรวมกลุ่มจัดตั้งเป็นกลุ่มอาชีพที่ยั่งยืนต่อไป เพื่อเป็นการส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชน ให้ประสบผลสำเร็จตรงตามเป้าหมาย โดยไม่เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เบียดเบียนสิ่งแวดล้อม และมีรายได้มากกว่ารายจ่าย ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยเริ่มจากการคัดเลือกปราชญ์ชาวบ้าน ซึ่งพิจารณาจากจากผลงานการท างานและประสบการณ์ในการประกอบอาชีพที่ประสบความสำเร็จสามารถเป็นต้นแบบในการประกอบอาชีพ เพื่อเข้ารับการฝึกอบรมเพิ่มทักษะด้านการถ่ายทอดองค์ความรู้ แล้วจะเป็นผู้สร้างทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านเพิ่มอีก ๔ คน และจัดการฝึกอบรมอาชีพให้กับผู้ที่สนใจอีกอย่างน้อย ๒๐ คนต่อหมู่บ้าน

วัตถุประสงค์ ->

1. การคัดเลือกปราชญ์ชาวบ้านโดยพิจารณาจากจากผลงานการท างานและประสบการณ์ในการประกอบอาชีพที่ประสบความสำเร็จสามารถเป็นต้นแบบในการประกอบอาชีพได้จาก 10 คน คัดเลือกให้เหลือ ๑ คน เพื่อเข้ารับการฝึกอบรมเพิ่มทักษะด้านการถ่ายทอดองค์ความรู้
2. ประชุมเชิงปฏิบัติการวิทยากรสัมมาชีพระดับจังหวัด เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ และวิเคราะห์ความต้องการอาชีพของประชาชนในหมู่บ้าน ให้สอดคล้องกับศักยภาพของชุมชน รวมถึงการจัดทำทะเบียนวิทยากรสัมมาชีพชุมชนตามประเภทอาชีพ
3. เตรียมความพร้อมทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน เพื่อสร้างทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 5 คนโดยทีมวิทยากรสัมมาชีพระดับหมู่บ้าน ๑ คน ต่อ ครัวเรือนเป้าหมาย ๔ คน ที่ต้องการฝึกอาชีพ เพื่อทบทวนความต้องการในการฝึกอาชีพได้ตรงตามความต้องการก่อนเริ่มการฝึกอาชีพ

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
1. ทีมวิทยากรสัมมาชีพเข้าใจเป้าหมายของโครงการ ให้ความสำคัญกับงาน มีเป้าหมายเดียวกันในการสร้างสัมมาชีพให้แก่ชุมชนอย่างยั่งยืน
2. การเข้าถึงความต้องการที่แท้จริงของชุมชน พร้อมด้วยศักยภาพที่ชุมชนมี นำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดการต่อยอดได้
3. ความต่อเนื่องของการสร้างสัมมาชีพที่ไม่ได้หยุดอยู่ที่การฝึกอาชีพ แต่สำคัญตรงที่ครัวเรือนสัมมาชีพสามารถนำไปสร้างอาชีพได้อย่างยั่งยืน
4. ความเอื้อเฟื้อ สามัคคีของชุมชน จะสร้างพลังในการแบ่งปันความรู้ความสามารถที่มีในแต่ละอาชีพได้อย่างถูกต้อง

อุปกรณ์ ->

กระบวนการ/ขั้นตอน->

ข้อพึงระวัง ->

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดยโสธร
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา