เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

เทคนิคการส่งเสริมสัมมาชีพการเลี้ยงไก่ไข่

โดย : นายสำพัฒน์ พยุงวงษ์ ตำแหน่ง : ปราชญ์ชุมชน วันที่ : 2017-09-22-12:35:48

ที่อยู่ : 17 หมู่ 8 ตำบลห้วยแก้ง

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

เพื่อทำให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น โดยการสร้างสัมมาชีพชุมชนบนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชีพและมีรายได้โดยให้ชาวบ้านสอนชาวบ้านในสิ่งที่เขาอยากทำฝึกปฏิบัติจริงเกิดการเรียนรู้  พัฒนาอาชีพ จนพัฒนาเป็นอาชีพเพื่อสร้างรายได้ของครัวเรือนให้เพิ่มขึ้น และต่อยอดสู่การรวมกลุ่มจัดตั้งเป็นกลุ่มอาชีพที่มีความเข้มแข็งต่อไปและได้ดำเนินกิจกรรมสร้างสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

วัตถุประสงค์ ->

๑.สำรวจความต้องการฝึกอาชีพไว้ที่หมู่บ้าน หรือครัวเรือนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. โดยปราชญ์ชุมชนที่เป็นวิทยากรผู้ถ่ายทอดประจำหมู่บ้านเป็นผู้ถ่ายทอดและฝึกอาชีพ ร่วมกับทีมปราชญ์ชุมชนของหมู่บ้าน  
๒.จัดไปศึกษาดูงานในศูนย์เรียนรู้ชุมชนหมู่บ้านอื่นๆ ตามอาชีพ  ที่ได้ฝึกอบรม  ซึ่งกระบวนการถ่ายทอดความรู้เน้นแบบชาวบ้านสอนชาวบ้าน เน้นฝึกการปฏิบัติจริง ใช้วัสดุจริง ลักษณะอาชีพ อาจเป็นอาชีพหลัก อาชีพเสริม หรือ อาชีพใหม่ ก็ได้
๓.ถ่ายทอดความรู้เน้นแบบชาวบ้านสอนชาวบ้าน เน้นฝึกการปฏิบัติจริง ใช้วัสดุจริง ลักษณะอาชีพ อาจเป็นอาชีพหลัก อาชีพเสริม หรือ อาชีพใหม่ ก็ได้ ตัวอย่างการพัฒนาสัมมาชีพ
๔.การส่งเสริมให้เกิดสัมมาชีพมั่นคง แกนนำสัมมาชีพและปราชญ์ชุมชน รวมหมู่บ้านละ 5 คน ต้องส่งเสริม ติดตามสนับสนุน และกำกับให้ 20 ครอบครัว สามารถนำความรู้จากการฝึกอบรมไปประกอบอาชีพ ให้มีรายได้หรือลดรายจ่ายการส่งเสริมให้เกิดสัมมาชีพมั่นคง แกนนำสัมมาชีพและปราชญ์ชุมชน รวมหมู่บ้านละ 5 คน ต้องส่งเสริม ติดตามสนับสนุน และกำกับให้ 20 ครอบครัว สามารถนำความรู้จากการฝึกอบรมไปประกอบอาชีพ ให้มีรายได้หรือลดรายจ่าย
 5.ติดตามเยี่ยมเยียนครัวเรือนที่ฝึกอาชีพร่วมกับทีมวิทยากรสัมมาชีพหมู่บ้าน
6.. ประเมินผลและคัดเลือกครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง หมู่บ้านละ 1 คน

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

1. การคัดเลือกผู้นำวิทยากรสัมมาชีพชุมชนและทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนที่เข้มแข็ง เป็นผู้นำ มีจิตอาสา มี
ความรู้ความสามารถและทักษะในการถ่ายทอดความรู้ และมีประสบการณ์ เป็นปราชญ์ชาวบ้านหรือผู้ประสบ
ความสำเร็จหรือเชี่ยวชาญในอาชีพ และได้รับการยอมรับจากคนในชุมชน
2. การคัดเลือกครัวเรือนสัมมาชีพที่สมัครใจมีความพร้อม และความตั้งใจจริงในการฝึกอาชีพ
3. การได้รับสนับสนุนจากผู้นำชุมชน และให้ความสำคัญในการดำเนินการตามโครงการ
4. ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน ให้ความสำคัญ เอาใจใส่และรับผิดชอบการดำเนินการตามโครงการ
5. อาชีพที่ชุมชนเลือก เป็นอาชีพที่เกิดจากความต้องการของชุมชนเอง
6. เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนติดตามสนับสนุนอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง
 

อุปกรณ์ ->

ข้อพึงระวัง/ปัญหา/วิธีการแก้ไขปัญหา
1. การอบรมครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนยังไม่มีความมั่นใจในการเป็นวิทยากรตามแนวทางที่กำหนด พัฒนากรต้องประชุมซักซ้อมสร้างความเข้าใจและมอบหมายหน้าที่ก่อนวันอบรมและในวันอบรมพัฒนากรต้องมีส่วนร่วมส่งเสริมสนับสนุนพร้อมให้กำลังใจอย่างใกล้ชิด
2. อาชีพที่ต้องการฝึกอบรมและสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอจัดซื้อวัสดุมอบให้ครัวเรือน วิทยากรสัมมาชีพชุมชนไม่มีความรู้ความเข้าใจ
วิธีแก้ปัญหาคือทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนต้องเรียน รู้จากวิทยากรภายนอกโดยอาศัยจากประสบการณ์ที่มีอยู่มาประยุกต์การส่งเสริมอาชีพให้ครัวเรือน

กระบวนการ/ขั้นตอน->

บทสรุป/ข้อเสนอแนะ
1. ทีมวิทยากรสัมมาชีพควรมีทักษะในการสื่อสารให้ผู้อื่นได้อย่างชัดเจน
2. อาชีพที่ใช้ในการฝึกอบรมของครัวเรือน ควรเป็นอาชีพที่สามารถต่อยอดและทำ
ได้อย่างต่อเนื่องภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่ของชุมชน
3. อาชีพที่ใช้ในการฝึกอบรมครัวเรือน ควรจะเป็นอาชีพที่วิทยากรสัมมาชีพชุมชนในหมู่บ้านมีความเชี่ยวชาญหรือมีความถนัด ซึ่งจะทำให้การดำเนินงานประสบผลสำเร็จมากกว่าอาชีพที่วิทยากรสัมมาชีพไม่มีความรู้
4. วิทยากรสัมมาชีพชุมชนและครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ต้องมีคุณธรรมด้านความซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน ยึดหลักประชาธิปไตย และผลประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสำคัญ

ข้อพึงระวัง ->

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดยโสธร
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา