เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

การจักสาน

โดย : นายคำมูล อุปไชย ตำแหน่ง : ปราชญ์ชุมชน วันที่ : 2017-09-15-11:56:32

ที่อยู่ : 46 หมู่ 7 ตำบลนาสะไมย์ อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

แต่ก่อนปู่ ย่า ตา ยาย ทำกระติบข้าวด้วยใบตาล เพื่อใช้ครัวเรือนเท่านั้น    สมัยนั้นได้ริเริ่มเปลี่ยนแบบจากการผลิตกระติบข้าวด้วยใบตาลมาเป็นไม้ไผ่พันธ์พื้นบ้าน  ขณะนั้นยังไม่มีการผลิตมากมายนักเพียงแต่ทำเพื่อใช้ในครัวเรือนเท่านั้น ต่อมาปี พ.ศ. 2484  คนในตำบลเกิดการสานกระติบข้าวด้วยไม้ไผ่  แรกๆไม่มีคนซื้อมากนัก   จนปี พ.ศ.2490 นายจ่อย ประทุมวัน บ้านนาสะไมย์  ได้ซื้อกระติบข้าวที่ชาวบ้านสาน  นำไปขายตามหมู่บ้านต่างๆ ในเขตอำเภอเมืองยโสธร  การขายครั้งแรกราคาสมัยนั้น ลูกละ 1.50 บาท    (6 สลึง)  เมื่อมีการซื้อ – ขาย  ชาวบ้าน จึงเกิดการตื่นตัวสานกระติบข้าวด้วยไม้ไผ่  คนซื้อก็มากขึ้น ปรับเปลี่ยนแปรรูปตามความต้องการของลูกค้า ขายส่งจังหวัดต่างๆ ทำรายได้ให้แก่ชุมชน        ปราญ์ชสัมมาชีพชุมชนและพี่น้องชาวบ้าน  จึงร่วมกันจัดตั้งกลุ่มสตรีจักสานบ้านชาด  ทุกคนลงหุ้นเพื่อรับซื้อผลิตภัณฑ์ของกลุ่มไว้จำหน่ายเอง  และได้รับวัสดุสนับสนุนจากโครงการสัมมาชีพชุมชน  เป็นกลุ่มที่จะลงทะเบียนหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ต่อไป

วัตถุประสงค์ ->

อุปกรณ์ในการจักสานกระติบข้าว

1. มีด   ๒. เอ็น  ๓. เส้นด้าย  ๔. หวาย  ๕. ก้านตาล 6. กบขุดตอก

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

1 เป็นอาชีพที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นส่งจำหน่ายทั่วประเทศ

2. มีตลาดรองรับตลอดทั้งปี

3. ทำให้ชาวบ้านเกิดรายได้อย่างต่อเนื่อง

อุปกรณ์ ->

กระบวนการ/ขั้นตอน->

ข้อพึงระวัง ->

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดยโสธร
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา