เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

เทคนิคการส่งเสริมสัมมาชีพชุมชนการทำน้ำยาเอนกประสงค์

โดย : นายสวาท ศรีวงษ์ราช ตำแหน่ง : ปราชญ์ชุมชน วันที่ : 2017-09-08-15:39:55

ที่อยู่ : 99 หมู่11 ตำบลกำแมด อำเภอกุดชุม

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

การทำน้ำยาเอนกประสงค์ เป็นกิจกรรมที่ได้รับการเรียนรู้มาจากการส่งเสริมของหน่วยงานราชการ เพื่อลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน ในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง แต่ปรากฎว่าการทำน้ำยาเอนกประสงค์ มาทำเชิงการค้า ให้เกิดรายได้ จึงเป็นแรงบันดาลใจให้ต่อยอดเป็นงานที่สร้างรายได้เพิ่มขึ้น

วัตถุประสงค์ ->

กระบวนการ/วิธีการ
     1.ประชุมกลุ่มสตรีแม่บ้าน กลุ่มผู้สนใจในชุมชน
     2.กำหนดแผนการดำเนินงาน การฝึกอบรม
     3. ดำเนินการฝึกอบรมตามแนวทาง ขั้นตอนดังนี้
          3.1 เตรียมวัสดุอุปกรณ์
               ๑. หัวเชื้อแชมพู (N ๗๐) ๑,๐๐๐ กรัม
              ๒. น้ำเกลือ  ๔๐๐ กรัม
              ๓. ผงฟอง   ๑๐๐ กรัม
              ๔. น้ำด่าง  ๕ ลิตร
              ๕. กลิ่นมะนาว  ๑ ออนซ์                                                                                                                         6.ถังพลาสติคก้นเรียบ
                        7 .ไม้พาย/ไม้ไผ่      
         3.2 ขั้นดำเนินการ
                1. เอา N 7O ผสมกับ F 24 กวนให้เข้ากัน ราว 10 นาที
                2. ค่อยๆเทน้ำเกลือลงไปทีละน้อยๆ แล้วกวนให้เข้ากัน จนหมด
                3. หลังจากนั้น เติมน้ำลงไปและกวนเรื่อยๆ โดยใช้น้ำประมาณ 10-15 ลิตร ทั้งนี้ให้สังเกตว่า     ความข้นของน้ำยาอเนกประสงค์ หากยังข้นหรือเหนียวมาก ก็สามารถเติมน้ำเปล่า ลงไปได้อีก จนเห็นว่า ได้ความข้นที่เหมาะสม
                4. ใส่หัวน้ำหอม กวนให้เข้ากัน แล้วตั้งทิ้งไว้จนฟองยุบ(1 คืน) แล้วตักใส่ขวดเอาไว้ใช้
 

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

1. การถ่ายทอดของปราชญ์ชุมชน  ผู้ที่ประกอบสัมมาชีพ มีความเข้าใจในการสร้างสัมมาชีพให้เกิดขึ้นในชุมชน 
          2. ชุมชนให้ความร่วมมือและเข้าใจ ความต้องการสร้างสัมมาชีพในชุมชนให้เข้มแข็งได้ พึ่งต้นเองได้
          3. สถานที่ศึกษาดูงาน ก็เป็นสิ่งหนึ่งในปัจจัยความสำเร็จ การไปดูงาน ที่การจัดตั้งกลุ่มที่ประสบผลสำเร็จในการสร้างกลุ่มอย่างเป็นรูปธรรม

อุปกรณ์ ->

กระบวนการ/ขั้นตอน->

1. การคำนึงถึงศักยภาพของทีมวิทยากรแต่ละคน ซึ่งมีไม่เท่ากัน
                    2. ความสามัคคี เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในการร่วมกันทำงานของทีมวิทยากรฯ
                    3. การมอบหมายงาน แบ่งภาระหน้าที่ที่ชัดเจนของแต่ละคนตามความถนัด
                    4.เปิดโอกาสให้ลูกทีมแสงความคิดเห็น 
                    5.เปิดใจพูดคุยกันในกรณีที่มี ปัญหา หรือความคิดเห็นไม่ตรงกัน

ข้อพึงระวัง ->

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดยโสธร
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา