เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

image1

การทำปลาร้าหมัก

โดย : นางทองม้วน ศรีทัดยศ ตำแหน่ง : เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน วันที่ : 2017-07-31-10:59:58

ที่อยู่ : บ้านเลขที่ 229 ม.1 ต.เหล่าบัวบาน

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

การทำปลาร้าเป็นภูมิปัญญาที่ชาวอีสานสืบทอดวิธีการมาตั้งแต่สมัยโบราณ  สมัยอดีตหมู่บ้านประสบปัญหาน้ำท่วมบ้านเรือนและพื้นที่การเกษตร  ประกอบกับมี หนองน้ำสาธารณะใกล้หมู่บ้าน ชาวบ้านนอกจากประกอบอาชีพทำนาแล้วก็หาปลาเป็นอาชีพเสริม ได้ปลามามากมายจึงคิดค้นวิธีการเก็บถนอมอาหารไว้ให้นานที่สุด ซึ่งวิธีการดังกล่าวชาวอีสานเรียกว่าการทำปลาร้า    

วัตถุประสงค์ ->

ปลาร้า หรือปลาแดก  ในภาษาอีสานหมายถึง การดันหรือยัดเข้าไปข้างในอีกสิ่งหนึ่ง  โดยปลาร้า     มักทำจากปลาน้ำจืดขนาดเล็ก  เช่น  ปลาสร้อยขาว  ปลากระดี่  มาคลุกกับรำข้าวและเกลือ  แล้วบรรจุ   ใส่ไห โดยทั่วไปจะหมักไว้  7-8 เดือน  จึงนำมารับประทานได้  เคล็ดลับคือ  ใช้ปลาสดจากแหล่งน้ำธรรมชาติ  ใช้การหมักแบบภูมิปัญญาท้องถิ่นหมักคลุกเคล้ากับเกลือและรำ  หมักในไหมังกร  ทิ้งไว้ 6 เดือน - 1 ปี  จะให้ได้ปลาร้าที่รสชาติอร่อย  มีกลิ่นหอม  สะอาด     

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

ต่อมาในปี พ.ศ. 2544  (19  กันยายน  2544)  มีการรวมกลุ่มกันอย่างเป็นทางการ  มีการจัดตั้งคณะกรรมการบริหารกลุ่ม   ได้รับจัดสรรงบประมาณในการสร้างอาคารโรงเรือนจากองค์การบริหารส่วนตำบลเหล่า  บัวบาน  ซึ่งก่อสร้างบนพื้นที่สาธารณะของหมู่บ้าน  นอกจากนั้นยังมีหน่วยงานภาครัฐที่ให้การสนับสนุนงบประมาณต่าง ๆ  ได้แก่  สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอเชียงยืน  สำนักงานเกษตรอำเภอเชียงยืน  สำนักงานฟื้นฟูสถาบันการเกษตร  จังหวัดมหาสารคาม  และหน่วยงานอื่นๆ  ในการจัดสรรงบประมาณ  ต่างๆ  รวมทั้งประสานงานหาสถานที่ในการจัดจำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์        

อุปกรณ์ ->

กระบวนการ/ขั้นตอน->

ข้อพึงระวัง ->

รูปประกอบ -> image1 image2 image3

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดมหาสารคาม
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา