เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

เทคนิคในการส่งเสริมสัมมาชีพชุมชน

โดย : นายณัฐพล ขยายเสียง ตำแหน่ง : เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน วันที่ : 2017-03-17-22:59:24

ที่อยู่ : 197 หมู่ที่ 5 ตำบลสูงเม่น อ าเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

การส่งเสริมสัมมาชีพชุมชน ถือว่าเป็นการท างานร่วมกับชุมชน ซึ่งการท างานร่วมกับชุมชนเป็นงานที่ต้อง ใช้ความสามารถและความเสียสละทั้งในเรื่องของก าลังกายและก าลังใจ เพื่อให้การท างานประสบความส าเร็จตาม วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ซึ่งเป้าหมายของการด าเนินงานสัมมาชีพชุมชนคือการที่ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ ครัวเรือนเป้าหมายที่มีขั้นตอนการฝึกอบรมสนับสนุนและพัฒนาความรู้ในการประกอบอาชีพ ซึ่งขั้นตอนหรือ กระบวนต่างๆ ในการด าเนินงานสัมมาชีพก็คือการท างานร่วมกับชุมชน เพื่อให้ชุมชนมีการพัฒนา ประชาชนมี รายได้เพิ่มขึ้น อันเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในพื้นที่ให้สูงขึ้น 

วัตถุประสงค์ ->

การส่งเสริมสัมมาชีพชุมชน ต้องได้รับการขับเคลื่อนจากหลายภาคส่วนเช่น ทีมเจ้าหน้าที่ส านักงานพัฒนา ชุมชนอ าเภอ เหล่าผู้น าชุมชน และทีมปราชญ์สัมมาชีพชุมชน ซึ่งจะต้องมีการบูรณาการ ประสานงาน และท างาน ร่วมกัน เพื่อให้การด าเนินงานประสบความส าเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ โดยขั้นตอนทั้งหมดมีดังต่อไปนี้ 6.2.1 สร้างความรู้ ความเข้าใจการสร้างสัมมาชีพชุมชน ชี้แจงแนวทางโครงการสร้างสัมมาชีพชุมชน โดย การให้ความรู้เรื่องสัมมาชีพชุมชน อธิบายความส าคัญของการสร้างสัมมาชีพชุมชนในประเด็นที่เกี่ยวกับ 1. ความเป็นมาของโครงการสร้างสัมมาชีพชุมชน 2. ความส าคัญของการสร้างสัมมาชีพชุมชน 3. กระบวนการสร้างสัมมาชีพชุมชน 6.2.2 สร้างทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน โดยวิธีการดังนี้ 1. ถ่ายทอดความรู้ เทคนิค ของการเป็นวิทยากรผู้น าสัมมาชีพ โดยปราชญ์ชุมชนที่ผ่าน การอบรมหลักสูตร “วิทยากรผู้น าสัมมาชีพ” จากศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน 2. จัดทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน พร้อมมอบหมายภารกิจหน้าที่ในการ ส่งเสริม สนับสนุน ก ากับและติดตามครัวเรือนเป้าหมายที่ผ่านการอบรมอาชีพ ซึ่งเรียกว่า “ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน” โดย 1 หมู่บ้านให้แบ่งสัดส่วนของทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน 1 คน ต่อ ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน 4 ครัวเรือน 
ภาพ 
เจ้าของ ความรู้ 
~ 2 ~ 
 
3. ทบทวนและจัดท าแผนปฏิบัติการฝึกอบรมอาชีพและส่งเสริม สนับสนุน ก ากับและ ติดตามครัวเรือนเป้าหมายที่ผ่านการอบรมอาชีพ ซึ่งเรียกว่า “ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน” 6.2.3 การวิเคราะห์สถานการณ์ความต้องการอาชีพของของครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการฝึกอาชีพ มี วิธีการดังต่อไปนี้ 1. ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลความต้องการอาชีพ จากแบบความต้องการฝึกอาชีพของคนในชุมชนที่ได้ส ารวจไว้แล้ว โดยจัดกลุ่มความต้องการ อาชีพ แล้วจึงวิเคราะห์ให้เชื่อมโยงกับตลาด,สร้างผลผลิต สร้างผลิตภัณฑ์เข้าสู่ระบบOTOP และ การด าเนินงานของบริษัทประชารัฐรักสามัคคี (จังหวัด) จ ากัด 2.จัดเตรียมพื้นที่ฝึกอบรม พื้นที่ดูงาน วัสดุ/อุปกรณ์ การสร้างสัมมาชีพชุมชน 6.2.4 การเตรียมความพร้อมครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการฝึกอาชีพ มีวิธีการดังต่อไปนี้ 1. ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านลงพื้นที่เยี่ยมเยียนครัวเรือนเป้าหมายที่ ต้องการฝึกอาชีพทั้ง 20 ครัวเรือน โดยแบ่งตามสัดส่วนของทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับ หมู่บ้าน 1 คน ต่อ 4 ครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการฝึกอาชีพเพื่อให้ความรู้เรื่องสัมมาชีพชุมชน อธิบายความส าคัญของการสร้างสัมมาชีพชุมชนในประเด็นที่เกี่ยวกับ 1. ความเป็นมาของโครงการสร้างสัมมาชีพชุมชน 2. ความส าคัญของการสร้างสัมมาชีพชุมชน 3. กระบวนการสร้างสัมมาชีพชุมชนที่เกี่ยวข้อง 2. ทบทวนความต้องการของครัวเรือนเป้าหมายฯ ว่ายังคงมีความสนใจหรือต้องการฝึก อาชีพ หรือเปลี่ยนแปลงอาชีพหรือไม่ ซึ่งกรณีที่ไม่ต้องการฝึกอาชีพให้ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน ระดับหมู่บ้านหาครัวเรือนอื่นทดแทน หรือต้องการเปลี่ยนอาชีพให้เปลี่ยนอาชีพตามค าแนะน า ของทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านได้ 3. แจ้งวันฝึกอบรมอาชีพ พร้อมท าข้อตกลงร่วมกันระหว่างทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน ระดับหมู่บ้านและครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการฝึกอาชีพ 4. กรอกข้อมูลในแบบฟอร์มการติดตามครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน  5. ประสานกับส านักงานพัฒนาชุมชนอ าเภอ เพื่อจัดเตรียมวัสดุสนับสนุนการฝึกอาชีพ ก่อนเริ่มการอบรมโครงการส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน (จ านวน 5 วัน) 6

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

เทคนิค การส่งเสริมสัมมาชีพชุมชน ถือว่าเป็นการท างานร่วมกับชุมชน โดยการท างานร่วมดังกล่าวกันต้องอาศัย ความร่วมมือร่วมใจจากบุคคลหลายฝ่ายในการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนให้ประสบความส าเร็จ ในส่วนนี้เจ้าหน้าที่ พัฒนาชุมชนของอ าเภอเป็นกลไกส าคัญในการท างานร่วมกับชุมชนที่มีความหลากหลาย ทั้งในด้านความคิด รายได้ ความเป็นอยู่ของประชาชน ซึ่งการด าเนินงานดังกล่าวมีเทคนิคในการท างานให้ประสบความส าเร็จดังนี้  6.3.1 สร้างความคุ้นเคยกับผู้น าชุมชน : ผู้น าชุมชนถือว่าเป็นบุคคลที่มีความส าคัญในการติดต่อ ประสานงานระหว่างหน่วยงานภาครัฐกับประชาชนในพื้นที่ ซึ่งการสร้างความคุ้นเคยกับผู้น าชุมชนคือการสร้าง ปฏิสัมพันธ์อันดี เพื่อให้เกิดความไว้วางใจระหว่างพัฒนากรกับผู้น าชุมชนในการท างานร่วมกัน ซึ่งการด าเนินงาน สัมมาชีพให้ประสบผลส าเร็จจะต้องได้รับความร่วมมือจากผู้น าชุมชนเป็นอันดับแรก วิธีการสร้างความคุ้นเคยของ พัฒนากรก็มีหลายวิธีที่แตกต่างกันเช่น หมั่นเข้าไปพบปะผู้น าชุมชน การเข้าร่วมงานหรือพิธีการส าคัญของชุมชน ฯลฯ สิ่งเหล่านี้จะท าให้เกิดความเชื่อใจระหว่างกันละกัน ส่งผลให้มีความราบรื่นในการติดต่อประสานงาน และ การขอความร่วมมือ 6.3.2 ศึกษาแนวทางการด าเนินงานสัมมาชีพชุมชน : การด าเนินงานสัมมาชีพชุมชนมีหลายขั้นตอนก่อน จะประสบความส าเร็จตามเป้าหมายที่ก าหนดไว้ ตั้งแต่การพัฒนาทักษะการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับปราชญ์
~ 3 ~ 
 
สัมมาชีพชุมชน เพื่อให้กลับไปสร้างทีมปราชญ์สัมมาชีพฯ และจัดฝึกอบรมอาชีพให้กับครัวเรือนเป้าหมายที่ ต้องการฝึกอาชีพในหมู่บ้าน ซึ่งทุกขั้นตอนพัฒนากรจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในการด าเนินงาน เพื่อสามารถให้ ค าปรึกษาแก่ปราชญ์สัมมาชีพฯ หรือผู้น าชุมชนหากเกิดปัญหาในระหว่างการด าเนินงาน 6.3.3 ให้ความเคารพและให้เกียรติปราชญ์สัมมาชีพชุมชน :  ปราชญ์สัมมาชีพฯ คือแกนน าหลักในการ ขับเคลื่อนงานสัมมาชีพชุมชนให้ประสบความส าเร็จ โดยปราชญ์สัมมาชีพฯ เป็นผู้ที่ประกอบสัมมาชีพมีความรู้ ความช านาญ ความเชี่ยวชาญ และมีความมั่นคงในอาชีพจนเป็นที่ยอมรับของคนในชุมชน พร้อมอาสาที่จะ ถ่ายทอดและขยายผลไปยังบุคคลอื่นๆ ในชุมชน ซึ่งการให้ความเคารพและให้เกียรติต่อปราชญ์สัมมาชีพฯ ถือเป็น การสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างการท างานร่วมกัน เพื่อให้การด าเนินงานเป็นไปด้วยความราบรื่น 6.3.4 สร้างแรงจูงใจการด าเนินงานสัมมาชีพให้แก่ผู้น าชุมชนและทีมปราชญ์สัมมาชีพฯ  : แรงจูงใจถือ เป็นสิ่งส าคัญอีกประการหนึ่งของการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชน เพราะถ้าผู้น าชุมชนและทีมปราชญ์สัมมาชีพชุมชน ขาดแรงจูงใจการด าเนินงานแล้ว ความส าเร็จหรือการพัฒนาพื้นที่ก็ไม่อาจเกิดขึ้นได้ โดยแรงจูงใจในที่นี้อาจไม่ใช่ ค่าตอบแทนที่เป็นเงินเสมอไป ซึ่งแนวทางการด าเนินงานสัมมาชีพชุมชนได้เน้นย้ าถึงการพัฒนาพื้นที่อย่างยั่งยืน ด้วยการน าเอาองค์ความรู้พื้นฐานและทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อให้คน ในชุมชนมีอาชีพและเกิดรายได้ที่เพิ่มขึ้น ดังนั้นพัฒนากรจึงต้องมีความรู้และความเข้าใจต่อการด าเนินงาน สัมมาชีพฯ เพื่อสามารถชี้ให้เห็นถึงความส าคัญ เป้าหมายหรือผลที่ได้รับจากการด าเนินงานฯ นอกจากนี้พัฒนากร อาจจะต้องเป็นผู้กระตุ้นให้ผู้น าชุมชนและทีมปราชญ์สัมมาชีพฯ ร่วมกันคิดถึงจุดแข็งที่มีอยู่ในพื้นที่ที่สามารถ พัฒนาต่อยอดได้ และจุดอ่อนที่ต้องรับการพัฒนา สิ่งดังกล่าวคือการสร้างแรงจูงใจต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนให้ เกิดขึ้นต่อเหล่าผู้น าในพื้นที่ ซึ่งพวกเขาจะสามารถน าเป้าหมายและขั้นตอนการด าเนินงานสัมมาชีพฯ ไปสร้าง ความเข้าใจต่อครัวเรือนที่จะเข้าร่วมกิจกรรม ให้เกิดประโยชน์และประสบผลส าเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ได้ก าหนดไว้ 6.3.5 แสดงออกถึงความตั้งใจและความจริงใจ ในการร่วมกันท างานระหว่าง ผู้น าชุมชน ทีมปราชญ์ สัมมาชีพฯ และครัวเรือนเป้าหมาย : ในแต่ละพื้นที่ที่พัฒนากรรับผิดชอบนั้นพบว่าความแตกต่างทางด้านรายได้ ของประชาชน ส่งผลให้เกิดความเลื่อมล้ าในการเข้าถึงปัจจัยสี่ส าหรับการด ารงชีวิต โดยเฉพาะในปัจจุบันซึ่งเป็นยุค ที่สังคมก้าวเข้าสู่การบริโภคนิยมที่ให้ความส าคัญต่อเงินส าหรับการใช้จ่าย นอกจากนี้การพัฒนาที่ผ่านมาก็ไม่ได้ เน้นถึงความมั่งคงและยั่งยืนให้เกิดขึ้นในพื้นที่ ปัญหาของสังคมจึงเกิดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ด้วยเหตุนี้รัฐบาลจึงมีนโยบาย ที่จะลดความเหลื่อมล้ าของสังคม และมุ่งหวังแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับปากท้องของประชาชนในระดับล่างซึ่งเป็นคน ส่วนใหญ่ของประเทศ โดยมีแผนงานที่ส าคัญคือการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง ฉะนั้นการ ด าเนินงานสัมมาชีพชุมชนจึงน่าจะเป็นแนวทางเบื้องต้นในการแก้ไขปัญหาด้านรายได้ให้กับประชาชน  ซึ่งพัฒนากรผู้รับผิดชอบพื้นที่นอกจากเป็นผู้ด าเนินงานสัมมาชีพฯ ตามระเบียบแล้ว ในจิตส านึกของความ เป็นคนไทยก็ต้องการให้ประเทศเกิดการพัฒนา ประชาชนมีความเลื่อมล้ าทางสังคมลดลง ด้วยเหตุนี้การ ด าเนินงานสัมมาชีพ จึงเป็นความตั้งใจและจริงใจในการพัฒนาพื้นที่ร่วมกับผู้น าชุมชน ทีมปราชญ์สัมมาชีพฯ และ ครัวเรือนเป้าหมาย โดยการให้ค าปรึกษา ไม่ทิ้งให้เหล่าผู้น าและประชาชนด าเนินงานอย่างโดเดี่ยว ชี้แนะแหล่ง งบประมาณที่จะต่อยอดกิจกรรม ตลอดจนหาทางแก้ไขอุปสรรคระหว่างการด าเนินงาน เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ ได้รับประโยชน์สูงสุด นอกจากนี้ความตั้งใจและความจริงใจดังกล่าวจะมีผลต่อความไว้วางใจของผู้น าชุมชนและ ประชาชนในพื้นที่  6.3.6 แนวคิดที่เชื่อว่ามนุษย์ทุกคนมีศักยภาพที่จะพัฒนาตนเองได้ : มนุษย์ทุกคนเป็นคนที่พัฒนาได้ แต่ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับโอกาสที่พวกเขาจะได้รับและศักยภาพของตนเอง การด าเนินงานสัมมาชีพชุมชนถือเป็นการให้ ประชาชนในพื้นที่ได้พัฒนาศักยภาพของตนเอง โดยเฉพาะผู้ที่เป็นปราชญ์สัมมาชีพชุมชน ผู้ซึ่งมีความรู้ความ เชี่ยวชาญและประสบความส าคัญในการประกอบอาชีพนั้นๆ โดยที่ผ่านมาผู้ที่ถือว่าเป็นปราชญ์ฯ อาจไม่พร้อมที่จะ เป็นแกนน าหรือไม่มีเทคนิคในการเผยแพร่ความรู้ของตนเอง ดังนั้นแนวทางในการด าเนินงานสัมมาชีพจึงมีจัดการ อบรมตามหลักสูตร “วิทยากรผู้น าสัมมาชีพ” จากศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน เพื่อพัฒนาปราชญ์ฯ ให้มีเทคนิคใน การสื่อสารและจัดการองค์ความรู้ของตนเองอย่างเป็นระบบ สิ่งนี้ถือเป็นการพัฒนาศักยภาพและความสามารถ
~ 4 ~ 
 
ของปราชญ์ฯ ให้มีประสิทธิภาพในการจัดการและเผยแพร่องค์ความรู้ของตนเองเป็นประโยชน์ต่อชุมชนต่อไป นอกจากนี้ยังเป็นการพัฒนาศักยภาพผู้อื่นไปด้วยโดยเฉพาะทีมปราชญ์ฯ และครัวเรือนเป้าหมาย 6.3.7 มีความอดทนระหว่างการท างาน  : การด าเนินงานสัมมาชีพชุมชน ถือเป็นงานที่ต้องท าร่วมกับคน หลายๆ คน ไม่ว่าจะเป็น ผู้น าชุมชน ทีมปราชญ์ฯ และครัวเรือนเป้าหมาย ซึ่งการท างานร่วมคนหลายๆ คน ย่อม จะต้องมีความคิดที่หลากหลาย และแน่นอนว่าอาจจะเกิดความเข้าใจที่ไม่ตรงกัน นอกจากนี้ในช่วงการด าเนินงาน สัมมาชีพของจังหวัดอยู่ในช่วงฤดูการเก็บเกี่ยวพืชผลทางเกษตร จึงผลให้การด าเนินงานเป็นไปด้วยความล่าช้า ฉะนั้นพัฒนากรในฐานะเป็นผู้รับผิดชอบพื้นที่จะต้องมีความอดทนอดกลั้นในการท างาน มีความยืดหยุ่นและเข้าใจ สภาพบริบท ความจ าเป็น ของประชาชนในพื้นที่ ข้อสังเกต 

อุปกรณ์ ->

1. การท างานร่วมกับชุมชนต้องมีการเคารพความคิดเห็นของคนในชุมชน จากแนวคิดที่เชื่อว่ามนุษย์ทุก คนมีศักยภาพที่ในตนเอง ฉะนั้นทุกคนจึงมีเหตุผลของตัวเอง 2. ความอดทนต่อความคิดเห็นที่หลากหลาย การท างานหากไร้ซึ่งความอดทนแล้วอุปสรรคต่างๆ ก็จะมี เพิ่มขึ้นมากขึ้น และจะท าให้งานนั้นไม่ประสบผลส าเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ 3. การร่วมมือกันท างานเพื่อให้งานประสบความส าเร็จ การด าเนินงานสัมมาชีพไม่ใช่หน้าที่ของเจ้าหน้าที่ ส านักงานพัฒนาชาชนอ าเภอหรือทีมปราชญ์เพียงคนๆ เดียว แต่ทุกคนที่เกี่ยวข้องจะต้องมีการประสานงาน ร่วมกัน  
 

กระบวนการ/ขั้นตอน->

การด าเนินงานสัมมาชีพชุมชนนอกจากจะมีเคล็ดลับที่ท าให้การท างานประสบความส าเร็จแล้ว ยังมี ข้อสังเกตบางประการที่สนับสนุนให้การด าเนินงานสัมมาชีพประสบความส าเร็จ ดังนี้ 1. การด าเนินงานสัมมาชีพชุมชน ถือเป็นการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของประชาชน กล่าวคือกระบวนการ ของการด าเนินงานดังกล่าว ประชาชนคือตัวแปรที่ส าคัญของการขับเคลื่อนการด าเนินงาน โดยเฉพาะทีมปราชญ์ฯ 5 คน ที่จะต้องเป็นแกนน าหลักในการจัดกิจกรรมฝึกอาชีพ โดยมีเจ้าหน้าที่ส านักงานพัฒนาชุมชนอ าเภอเป็นผู้ คอยให้ค าปรึกษา ซึ่งการด าเนินงานดังกล่าวมิใช่การก าหนดอาชีพจากภาครัฐและให้ประชาชนในพื้นที่เป็นผู้ปฎิบัติ แต่เป็นการคัดเลือกอาชีพที่มีความเหมาะสมกับชุมชน โดยให้คนในพื้นที่เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ซึ่งกันและกัน 2. เป้าหมายของการด าเนินงานสัมมาชีพ คือการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืนซึ่งการด าเนินงานด้งกล่าว มี เป้าหมายให้ครัวเรือนที่เข้ารับการฝึกอาชีพ มีความรู้และปฏิบัติอาชีพได้จริงจนพัฒนาเป็นอาชีพที่สร้างรายได้ ให้กับครัวเรือน และสามารถต่อยอดสู่การรวมกลุ่มจัดตั้งเป็นกลุ่มอาชีพให้มีความเข้มแข็งต่อไป การด าเนินงาน ดังกล่าวแตกต่างจากจากโครงการฝึกอบรมอาชีพที่ผ่านมา ซึ่งเมื่อจบโครงการแล้วก็ไม่มีการต่อยอดกิจกรรมของ กลุ่มอาชีพที่ชัดเจน และในที่สุดการฝึกอบรมฯ ก็ไม่ได้ส่งผลที่เป็นประโยชน์ระยะยาวให้กับครัวเรือนและชุมชน  3. การด าเนินงานสัมมาชีพชุมชน เป็นการพัฒนาบนพื้นฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ในข้อนี้จะปฏิเสธ ไม่ได้เลยว่าการด าเนินงานดังกล่าวล้วนมีแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวคิดหลักต่อกระบวนการการ ด าเนินงาน ซึ่งค าว่าสัมมาชีพ หมายถึงอาชีพที่ไม่เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เบียดเบียนสิ่งแวดล้อม  และมีรายได้มากกว่ารายจ่าย เป็นความพยายามที่จะปรับจากการท ามาหากินเป็นท ามาค้าขาย โดยไม่ได้เอาก าไร สูงสุดเป็นตัวตั้ง หรือเป็นเป้าหมายสุดท้าย และต้องค านึงถึงความเป็นธรรมทางสังคมกล่าวคือ ความสุขของตนและ คนท างาน รวมถึงประโยชน์ของผู้บริโภค และผู้รับบริการเป็นหลัก 4. การด าเนินงานสัมมาชีพชุมชน เป็นการพัฒนาชุมชนบนพื้นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น นอกจากแนวทาง การพัฒนาแบบมีส่วนร่วมแล้ว การพัฒนาชุมชนบนพื้นฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นก็ถือเป็นแนวทางส าคัญในการ ด าเนินงานสัมมาชีพชุมชน โดยเฉพาะในเรื่องของการฝึกอาชีพจากทีมปราชญ์ฯ ซึ่งส่วนใหญ่การประกอบอาชีพที่ ประสบความส าเร็จของปราชญ์ ล้วนเป็นอาชีพที่เหมาะสมต่อพื้นที่เช่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งวัตถุดิบ ตลาดของ ผู้บริโภค สิ่งเหล่านี้เป็นการน าทรัพยากรในพื้นที่มาแปลงให้เกิดประโยชน์สูงสุด 

ข้อพึงระวัง ->

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดแพร่
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา