เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

image1

ธนาคารกล้าไม้

โดย : นางสาวนาตยา ดวงแก้ว ตำแหน่ง : เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน วันที่ : 2017-04-10-10:04:36

ที่อยู่ : 150 ม.1 ต.ป่าแฝก

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สร้างป่าชุมชนเพื่อเป็นแหล่งอาหาร

วัตถุประสงค์ ->

1  กองทุนพันธุ์ไม้  มีบทบาท ดังนี้
 1)  ดำเนินการจัดหาปัจจัยสำคัญ 3 อย่าง คือ ถุงเพาะชำกล้าไม้ , เมล็ดพันธุ์ไม้และต้นกล้าไม้
 2)  กองทุนพันธุ์ไม้ ให้สมาชิกแต่ละคนเบิกถุงเพาะขำไปทำกิจกรรมเพาะชำกล้าไม้ในครัวเรือนของตนเองโดยมีหลักการการจัดการทีชัดเจน เช่น เบิกถุงไป 100 ถุง ต้องคืนกล้าไม้ 20 ถุง
 3)  กองทุนพันธุ์ไม้ จำทำทะเบียนประเภทพันธุ์ไม้และจำนวนที่สมาชิกเป็นทะเบียนกล้าไม้ของธนาคารต้นไม้สาขา
  3.1.2  เรือนเพาะชำกล้าไม้  เป็นระบบการจัดการไม้ของธนาคารต้นไม้สาขา เพื่อรองรับการจัดการกล้าไม้ที่สมาชิกคืนให้กับกองทุนพันธุ์ไม้ ตามอัตราที่ธนาคารต้นไม้สาขากำหนดพร้อมส่งเสริมให้มีการเพาะชำกล้าไม้เพื่อ แจก-แลก – ขาย เรือนเพาะชำ มีบทบาทสำคัญ   ดังนี้
 1)  ดูแลทะเบียนกล้าไม้ของสมาชิกและทะเบียนกล้าไม้ของกองทุนพันธุ์ไม้และทะเบียนกล้าไม้ของธนาคารต้นไม้สาขา
 2)  สนับสนุนกล้าไม้ ให้สมาชิก (ที่ไม่เบิกถุงเพาะชำไปชำกล้าไม้เนื่องจากมีข้อจำกัดด้านใดด้านหนึ่ง) ไปปลูกในที่ดินของตนเองคนละ 80 ต้น อย่างน้อย 9 ต้น
 3)  สนับสนุนกล้าไม้สำหรับการปลูกในพื้นที่สาธารณะของชุมชน
 4)  จำหน่ายกล้าไม้สร้างรายได้ให้กับกองทุนพันธุ์ไม้เพื่อให้มีเงินทุนขยายกิจกรรมการเพาะกล้าไม้และการปลูกต้นไม้ใช้หนี้ในปี (รุ่น) ต่อไป หรือนำมาจัดสวัสดิการต่าง ๆ ให้สมาชิก ฯลฯ
 5) รับฝากขายกล้าไม้ส่วนเกินของสมาชิกโดยมีค่าจัดการตามอัตราที่ธนาคารต้นไม้กำหนด
 6)  ดำเนินการจัดหาปัจจัยวัสดุโรงเรือนเพาะชำ,ดิน,ปุ๋ยอินทรีย์,วัสดุการเกษตร,ระบบน้ำอุปกรณ์การเพาะชำ ฯลฯ
 7)  ขอรับกล้าไม้จากส่วนงานที่เพาะชำกล้าไม้แจก
 8)  เพาะชำกล้าไม้เพื่อแจก-แลก-ขายให้กับสมาชิกหรือบุคคลโดยทั่วไปในราคาที่ธนาคารค้นไม้กำหนด

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

ความตั้งใจ ใส่ใจ

อุปกรณ์ ->

ควรปลูกหน้าฝน

กระบวนการ/ขั้นตอน->

ต้องดูแลต้นไม้อย่างใกล้ชิดในฤดูร้อน ให้น้ำสม่ำเสมอ

ข้อพึงระวัง ->

รูปประกอบ -> image1 image2 image3

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดพะเยา
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา