เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

image1

การเลี้ยงจิ้งหรีด

โดย : นายนำสมัย อึ่งพอง ตำแหน่ง : ปราชญ์ชุมชน วันที่ : 2017-03-29-15:30:52

ที่อยู่ : 105 หมู่ที่ 3 ตำบลกุรุคุ

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

บ้านกุรุคุ  หมู่ที่ 3 ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ การทำนา ทำไร่ ทำสวน ปลูกพืชผักสวนครัว และการเลี้ยงสัตว์    ซึ่งเมื่อว่างเว้นจากการทำนา จึงมีแนวความคิดที่เลี้ยงจิ้งหรีดประกอบกับปัญหาด้านเศรษฐกิจที่ส่งผลกระทบอย่างมาก ทำให้มีค่าครองชีพสูงขึ้น จึงจำเป็นต้องหาอาชีพเสริม เพื่อเพิ่มรายให้ให้แก่ครัวเรือน จึงได้มีแนวคิดในการเลี้ยงจิ้งหรีดไว้สำหรับกินเป็นอาหาร

จิ้งหรีด เป็นแมลงที่พบทั่วไปตามธรรมชาติ โดยเฉพาะจิ้งหรีดลายทองแดง (สะดิ้ง) มีขนาด 1.85 x 1 เซนติเมตร มีสีน้ำตาลปนเหลืองชอบกระโดด กินพืชเป็นอาหาร ปัจจุบันคนนิยมเลี้ยงเพื่อบริโภคเป็นอาหารโดยการทอด คั่ว แกง ห่อหมก และยำ จิ้งหรีดมีสารอาหารโปรตีนสูง ปลอดสารพิษ สามารถช่วยแก้ไขปัญหาการสารอาหารได้ เลี้ยงง่าย ขยายพันธ์เร็ว ให้ผลผลิตสูง เหมาะที่จะนำมาเลี้ยงเป็นอาชีพเสริม ไว้บริโภคและจำหน่ายเพิ่มรายได้ เนื่องจากเลี้ยงไม่มาก สามารถใช้เวลาว่างจากการเพาะปลูกมาเลี้ยงจิ้งหรีดได้ และใช้เวลาในการเลี้ยงไม่นานประมาณ

วัตถุประสงค์ ->

1. การจัดเวทีเตรียมความพร้อมวิทยากรสัมมาชีพ 3 วัน ในการเป็นทีมสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน สำหรับอบรมครัวเรือนเป้าหมาย
2. วิเคราะห์องค์ความของปราชญ์ชุมชนทั้ง 5 ท่าน เพื่อใช้ถ่ายทอดความรู้ให้กับครัวเรือนเป้าหมาย
3. คัดเลือกครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการฝึกอาชีพ โดยพิจารณาจากทะเบียนครัวเรือนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ จปฐ. เป็นอันดับแรก และสำรวจความผู้ที่สมัครใจและตั้งใจฝึกอาชีพ เพื่อประกอบอาชีพนั้นให้เกิดรายได้ จำนวน 20 ครัวเรือน
4. สร้างความรู้ ความเข้าใจถึงกระบวนการเลี้ยงจิ้งหรีด แก่ครัวเรือนเป้าหมายทั้ง 20 ครัวเรือน
5.. ดำเนินการสาธิตการเลี้ยงจิ้งหรีดในท่อซีเมนต์แก่ครัวเรือนเป้าหมายทั้ง 20 ครัวเรือน พร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะช่องทางการตลาดให้กลุ่มเป้าหมาย

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

1. องค์ความรู้ของทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านในการให้ความรู้แก่ครัวเรือนสัมมาชีพ
2. ความสมัครใจ และความตั้งใจ ในการฝึกอาชีพของครัวเรือนสัมมาชีพ 20 ครัวเรือน
3. ครัวเรือนสัมมาชีพ ๒๐ ครัวเรือน มีองค์ความรู้ด้านการเลี้ยงจิ้งหรีด สามารถลดรายจ่าย เพิ่มรายได้แก่ครัวเรือนได้

อุปกรณ์ ->

1.ระยะไข่ของจิ้งหรีดทองดำ, ทองแดง, ทองแดงลายคือ 7, 9, 11 วันตามลำดับ
2.ระยะตัวอ่อนของจิ้งหรีดทองดำ, ทองแดง, ทองแดงลายคือ 40-45, 45-50, 35-40 วันตามลำดับ
3.ระยะตัวเต็มวัยทองดำ, ทองแดง, ทองแดงลายคือ 50, 60, 60 วันตามลำดับ
4.จำนวนครั้งการลอกคราบของจิ้งหรีดคือ 8 ครั้ง
5.จิ้งหรีดเพศเมีย 1 ตัวสามารถวางไข่ได้ตั้งแต่ 800-1,800 ฟอง

กระบวนการ/ขั้นตอน->

1. วิทยากรสัมมาชีพจะต้องติดตาม สนับสนุน ให้คำแนะนำแก่ครัวเรือนเป้าหมายอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องเพื่อให้เห็นผลสำเร็จที่เป็นรูปธรรม ครัวเรือนสามารถมีอาชีพเลี้ยงตนเองและคนในครอบครัวได้
2.. การถ่ายทอดภูมิปัญญาการเลี้ยงไก่พื้นบ้าน แบบพี่สอนน้อง ชาวบ้านสอนชาวบ้าน ซึ่งจะช่วยกระชับเวลาในการถ่ายทอดภูมิปัญญาให้สั้นลงการสาธิตให้ดู ซึ่งจะทำให้การเลี้ยงไก่พื้นบ้านเข้าใจยิ่งขึ้น

ข้อพึงระวัง ->

รูปประกอบ -> image1

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดนครพนม
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา