เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

image1

การทำเกษตรผสมผสาน

โดย : นางบุษบา กองลี ตำแหน่ง : เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน วันที่ : 2017-06-26-14:18:44

ที่อยู่ : หมู่ที่ 13 บ้านศิลาทิพย์ ตำบลพระยืน อำเภอพระยืน

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

เมื่อบ้านศิลาทิพย์ ได้รับการสนับสนุนให้ดำเนินงานตามโครงการสร้างสัมมาชีพชุมชน ในกระบวนการคัดเลือกอาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายได้ ที่ประชุมได้คัดเลือกนางบุษบา  กองลีอาชีพการทำเกษตรผสมผสาน เพราะเห็นจากการที่ได้ประกอบเป็นอาชีพเสริมสามารถสร้างรายได้เพิ่มได้จริง และเป็นอาชีพที่ทำได้ง่ายๆมีวิทยากรที่มีความชำนาญอยู่แล้วในหมู่บ้าน

นางบุษบา  กองลี เป็นผู้มีจิตสาธารณะและมีความสัมพันธ์ที่ดีภายในบ้านศิลาทิพย์ ได้รับการยอมรับและให้ความร่วมมือในการพัฒนาหรือกิจกรรมต่างๆของหมู่บ้านเป็นอย่างดี  

นางบุษบา  กองลีน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการดำรงชีวิต ทำให้เป็นครอบครัวที่อยู่อย่างพอเพียง ไม่มีบุคคลในครัวเรือนติดยาเสพติด และไม่มีหนี้นอกระบบเนื่องจากแม่บ้านคือนางสวาท นั้นจะหารายได้เสริมจากการทำขนมข้าวแตนจำหน่าย ทำให้ครอบครัวดำเนินชีวิตแบบเรียบร่ายและมีความสุข

วัตถุประสงค์ ->

1.ถ่ายทอดความรู้ เทคนิค ของการเป็นวิทยากรผู้นำสัมมาชีพที่ผ่านการอบรมหลักสูตร “วิทยากรผู้นำสัมมาชีพ” จากศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน

2. จัดทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน  1 คน ต่อครัวเรือน สัมมาชีพชุมชน 4 ครัวเรือน

3. จัดทำแผนปฏิบัติการฝึกอบรมและส่งเสริมสนับสนุน กำกับและติดตามครัวเรือนเป้าหมายที่ผ่านการอบรมอาชีพ ซึ่งเรียกว่า “ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน”

. ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลความต้องการอาชีพจากแบบความต้องการฝึกอาชีพของคนในชุมชนที่ได้สำรวจไว้แล้ว โดยจัดกลุ่มความต้องการอาชีพ แล้วจึงวิเคราะห์ให้เชื่อมโยงกับตลาด สร้างผลผลิตสร้างผลิตภัณฑ์เข้าสู่ระบบ OTOP และการดำเนินงานของบริษัทประชารัฐ

5. ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านลงพื้นที่เยี่ยมเยือนครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการฝึกอาชีพทั้ง 20 ครัวเรือน โดยแบ่งตามสัดส่วนของทีมวิทยากรสัมมาชีพระดับหมู่บ้าน 1 คน ต่อ 4 ครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการฝึกอาชีพ

·       วิทยากรสัมมาชีพชุมชนผู้เป็นเจ้าของอาชีพ ดำเนินการร่วมกับทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านถ่ายทอดความรู้  ในประเด็น ดังนี้

                   1. เล่าความเป็นมาของอาชีพ

                             2. อธิบายกระบวน/ขั้นตอน การประกอบอาชีพ และทักษะที่เป็นนวัตกรรมในการพัฒนาอาชีพจนเกิดรายได้ให้แก่ครัวเรือน

                   3. อธิบายความสำคัญของการจัดการอาชีพเพื่อพัฒนาและสร้างรายได้ โดยเชื่อมโยงกับการตลาดหรือการสนับสนุนจากหน่วยงานหรือประชารัฐ

                             4. ผู้แทนครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการฝึกอาชีพทั้ง 20 คน (ครัวเรือน 1 คน) เดินทางไปศึกษาดูงานเพิ่มพูนความรู้และสร้างแรงจูงใจด้านอาชีพ ณ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงหรือศูนย์เรียนรู้ชุมชนหรือบ้านปราชญ์ชุมชนที่กำหนด

                             5. ผู้แทนครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการฝึกอาชีพทั้ง 20 ครัวเรือน ดำเนินการฝึกปฏิบัติอาชีพ ณ บ้านของตนเอง โดยมีทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน ให้การกำกับดูแลการฝึกปฏิบัติฯ ตามขั้นตอนการประกอบอาชีพที่ต้องการฝึกคนละ 4 ครัวเรือน

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

1.สมาชิกทุกคนจะนำวัตถุดิบไปทำการผลิตที่บ้านของสมาชิกแต่ละคนและนำมารวมกลุ่มขายโดยประธานกลุ่มจะเป็นคนดูแลในเรื่องการตลาด

2) ประสานขอความร่วงมือจากส่วนต่างๆ  ในการสนับสนุนงบประมาณ

3) การทำงานเป็นทีมให้ทุกคนเข้าใจถึงคำว่าจิตอาสา

อุปกรณ์ ->

กระบวนการ/ขั้นตอน->

รายได้ของเกษตรกร : ยึดหลักการทำเกษตรแบบพอเพียง ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และผลิตพืช ปลอดสารพิษโดยเริ่มที่ครอบครัวก่อนแล้ว จึงขยายผลต่อไปยัง      เพื่อนบ้าน “ปลุกทุกอย่างที่กิน  กินทุกอย่างที่ปลูก”

ข้อพึงระวัง ->

รูปประกอบ -> image1 image2 image3

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดขอนแก่น
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา