เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

เทคนิคการทำไม้กวาดดอกหญ้า

โดย : นายสมพงษ์ วันคูณ ตำแหน่ง : ปราชญ์ชุมชน วันที่ : 2017-07-02-13:45:03

ที่อยู่ : 147 หมู่ที่ ๗ บ้านลอมคอม ตำบลลอมคอม

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

“ดอกหญ้า”เป็นชื่อเรียกเป็นภาษาภาคกลางของผลผลิตจากพืชชนิดหนึ่งซึ่งในแต่ละภาค จะเรียกไม่เหมือนกัน เช่น ภาคใต้เรียกว่า “ดอกอ้อ”ภาคเหนือ เรียกว่า“ดอกกง”หรือบางพื้นที่เรียกว่า “ดอก แขม” เพราะดอกของต้นแขมนี้ได้สร้างรายได้ให้กับชุมชนนี้ “ดอกแขม” มีอยู่2 ประเภท คือ “แบบแข็ง”และ“แบบอ่อน”แต่ที่น ามาทำไม้กวาดคือ ดอกแขมแบบอ่อน ต้นแขมเป็นพืชล้มลุก ชอบอากาศเย็น ดินทรายปนกรวดบริเวณเชิงเขา ไม้กวาดดอกหญ้า เป็นอุปกรณ์ที่ยังจ าเป็นต้องใช้ภายในครอบครัว แม้ปัจจุบัน บางบ้าน ได้นำเครื่องดูดฝุ่นเข้ามาใช้บ้างแล้ว แต่ก็ยังมีบ้านและสถานที่ต่าง ๆ อีกจำนวนไม่น้อย ที่ ต้องการใช้ไม้กวาดดอกหญ้า ดังนั้น การทำไม้กวาดดอกหญ้าเพื่อจำหน่าย จึงเป็นการเสริม รายได้อีกทางหนึ่งให้กับครอบครัวได้ระหว่างสวนยางพารายังไม่ได้ผลผลิตหรือในช่วงที่ว่าง จากการทำการเกษตร

      ไม้กวาด เป็นอุปกรณ์ที่ยังมีจำเป็นต้องใช้ภายในครอบครัว แม้ปัจจุบัน บางบ้านได้นำเครื่องดูดฝุ่นเข้ามาใช้บ้างแล้ว แต่ก็ยังมีบ้านและสถานที่ต่าง ๆ อีกจำนวนไม่น้อย ที่ต้องการใช้ไม้กวาด ดังนั้น การผลิต/ทำไม้กวาดเพื่อจำหน่าย จึงเป็นการหารายได้เสริมอีกทางหนึ่งให้กับครอบครัวได้เป็นอย่างดี

วัตถุประสงค์ ->

1. ศึกษาข้อมูล ตามเอกสารแนวทางการดำเนินงานสัมมาชีพชุมชนของกรมการพัฒนาชุมชน
2.  ประสานผู้นำชุมชน ร่วมปรึกษา สร้างความเข้าใจ ร่วมกัน
3. ประชุมผู้นำหมู่บ้าน ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน เพื่อ ให้ความรู้และชี้แจงแนวทางการดำเนินงานสัมมาชีพ

     ชุมชนให้แก่ครัวเรือนฯ เป้าหมาย
4. ดำเนินการ คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย  ปราชญ์ทีมวิทยากรที่มีองค์ความรู้ในอาชีพแต่ละประเภทให้ชัดเจน

    ครัวเรือนสัมมาชีพที่สมัครที่เข้าร่วม ต้องเข้ามาด้วยความสมัครใจเท่านั้น ห้ามมิให้มีการบังคับกัน
5. นำครัวเรือนสัมมาชีพศึกษาดูงานครัวเรือนที่ประสบผลสำเร็จในการประกอบอาชีพ

6. ดำเนินการตามขั้นตอนและกระบวนการส่งเสริมอาชีพ
7. การจัดแสดง จำหน่ายผลิตภัณฑ์ของครัวเรือนสัมมาชีพ เพื่อประชาสัมพันธ์การดำเนินการ

8. การสนับสนุน ส่งเสริมให้ครัวเรือนสัมมาชีพรวมกลุ่ม เพื่อนำผลิตภัณฑ์เข้าจดทะเบียนกลุ่มกับหน่วยงาน

    ภาครัฐ ได้แก่ ลงทะเบียนผู้ผลิตผู้ประกอบการ OTOP กับสำนักงานพัฒนาชุมชน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกับ

    เกษตรอำเภอ 

9. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานกลุ่มและรายงานผลการดำเนินงานแก่สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภออย่าง

    ต่อเนื่อง
10. สรุปถอดผลการดำเนินงาน ถอดบทเรียนองค์ความรู้ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

ความตั้งใจในการทำงาน การสังเกต การนำความรู้ทางด้านต่างๆมาประยุกต์ใช้ในการเลี้ยงปลา อีกทั้งยังได้น้อมนำหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินงานด้วย

อุปกรณ์ ->

๑) ให้ครัวเรือนสัมมาชีพได้ศึกษาข้อมูลการดำเนินงานแนวทางสัมมาชีพชุมชนให้เกิดวามเข้าใจที่ชัดเจน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล รวมทั้งกำหนดแผนการดำเนินกิจกรรม/โครงการให้ ชัดเจน

 ๒)  ปราชญ์ชุมชน จะต้องเป็นปราชญ์ที่มีองค์ความรู้ในเรื่องการประกอบอาชีพนั้นๆอย่างแท้จริง และครัวเรือนสัมมาชีพสนใจ สามารถต่อยอดให้เกิดพัฒนาเป็นอาชีพหลักได้

๓) ครัวเรือนเป้าหมาย  ต้องสมัครใจ ไม่ใช่เข้ามาอบรมอาชีพด้วยความเกรงในผู้นำชุมชนหรือวิทยากรปราชญ์สัมมาชีพ หรือเพื่อมารับวัสดุอุปกรณ์จากหน่วยงานภาครัฐที่ให้การสนับสนุนเท่านั้น  และต้องตั้งใจฝึกอาชีพ เพื่อก่อให้เกิดการสร้าง กลุ่มอาชีพให้เกิดรายได้อย่างแท้จริง และยั่งยืน

กระบวนการ/ขั้นตอน->

1. ภาครัฐควรมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุมชนมีการจัดทำบัญชีครัวเรือนในการประกอบอาชีพนี้ อย่างทั่วถึงและทำอย่างต่อเนื่อง เพื่อจะได้ทราบรายได้ค่าใช้จ่ายในการประกอบอาชีพและนำไปแก้ไขปัญหาได้ตรงจุด

 2. ควรมีการจัดอบรมพัฒนาอาชีพที่ทำอยู่ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันและเกิดประโยชน์แก่ชุมชนอย่างทั่วถึง

 3. ควรจะมีการติดตาม ประเมินผลเป็นระยะ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ ทราบถึงปัญหาและความต้องการต่างๆ ของครัวเรือนที่ประกอบอาชีพนั้นๆ

 4. ควรมีการยกย่องและให้รางวัลแก่ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ที่ประสบผลสำเร็จในการประกอบอาชีพ เพื่อเป็นแรงจูงใจกระตุ้นและกำลังใจแก่ครัวเรือนอื่นๆ

 

ข้อพึงระวัง ->

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดขอนแก่น
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา