เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

เทคนิคการถ่ายทอดการเพาะเห็ดฟางจากขี้เลื่อย

โดย : นายอำนวย แก้วล้วน ตำแหน่ง : เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน วันที่ : 2017-06-30-11:40:57

ที่อยู่ : บ้านเลขที่ 55 หมู่ที่ 7 บ้านเหมือดแอ่ ตำบลหนองตูม

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

เกิดจากการน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใ้ชในชีวิตประจำวัน อีกทั้งมีความรู้ ความเข้าใจในการเพาะเห็ดฟาง จึงเกิดแนวคิดในการเพิ่มรายได้ให้แก่ตนเองและคนในชุมชน โดยการเพาะเห็ดฟางจากขี้เลื้อย

วัตถุประสงค์ ->

- จัดทีมวิทยากรสัมมาชีพ ชุมชนระดับหมู่บ้าน พร้อมมอบหมายภารกิจ หน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุน กำกับและ ติดตามครัวเรือนเป้าหมาย ที่ผ่านการอบรมอาชีพ ซึ่ง เรียกว่า “ครัวเรือน สัมมาชีพชุมชน” โดย 1 หมู่บ้านให้แบ่งสัดส่วนของ ทีมวิทยากรสัมมาชีพ ชุมชน 1 คน ต่อ ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน 4 ครัวเรือน

 - ทบทวนและจัดทำ แผนปฏิบัติการฝึกอบรม อาชีพและส่งเสริม สนับสนุน กำกับและ ติดตามครัวเรือนเป้าหมาย ที่ผ่านการอบรมอาชีพ ซึ่ง เรียกว่า “ครัวเรือน สัมมาชีพชุมชน

- ทีมวิทยากร สัมมาชีพชุมชน ระดับหมู่บ้านร่วมกัน วิเคราะห์ข้อมูลความ ต้องการอาชีพจาก แบบความต้องการ ฝึกอาชีพของคนใน ชุมชนที่ได้สำรวจไว้ แล้ว โดยจัดกลุ่ม ความต้องการอาชีพ แล้วจึงวิเคราะห์ให้ เชื่อมโยงกับตลาด สร้างผลผลิต สร้าง ผลิตภัณฑ์เข้าสู่ ระบบ OTOP และ กำหนดการดำเนินงานของ บริษัทประชำรัฐรัก สามัคคี ขอนแก่น จำกัด

 – จัดเตรียมพื้นที่ ฝึกอบรม พื้นที่ดูงาน วัสดุ/อุปกรณ์ การสร้างสัมมาชีพ ชุมชน

ขั้นตอนการเพาะเห็ดฟาง

1.นําขี้เลื่อยจากก้อนเชื้อเห็ดเก่ามาทำการขยี้ให้ละเอียด เสร็จแล้ว ให้นํามาใส่ในตะกร้าพลาสติก โดยให้มีความสูงประมาณ 2-3 นิ้ว แล้วใช้มือหรือไม้ กดให้แน่น

2.นําอาหารเสริมโรยชิดด้านในของตะกร้าเป็นในวงกลม โดยให้มีความกว้างประมาณ 1 ฝ่ามือ ซึ่งใช้ประมาณ 1 ลิตรต่อชั้น

3.นําเชื้อเห็ดฟางออกจากถุง แล้วนําไปคลุกกับแป้งข้าวสาลีพอให้ติดผิวนอก เพื่อเป็นอาหารเสริมระยะแรก เพื่อช่วย กระตุ้นให้เชื้อเห็ดฟางเจริญได้ดี 

แล้วทำการโรยทับอาหารเสริมอีกชั้นหนึ่ง ทําเป็นชั้นๆ ลักษณะนี้จนเต็มตะกร้าพลาสติก รด น้ําให้ชุ่ม ( ในขั้นตอนนี้ หากก้อนเชื้อเห็ดฟางที่นํามาเพาะยังชุ่มอยู่ก็ไม่ต้องรดน้ํา )

4.ควบคุมอุณหภูมิให้เหมาะสมสําหรับการเกิดดอกเห็ดฟาง โดยการปิดโรงเรือนให้มิดชิด เช่น ด้านล่างควรใช้ อิฐทับ ผ้าพลาสติกไว้เพื่อป้องกันพลาสติกเปิดออก 

และภายในโรงเรือนควรติดเทอร์โมมิเตอร์  สําหรับวัดอุณหภูมิ ในช่วง วันที่ 1 ถึง 4 วันแรก ต้องควบคุมอุณหภูมิในกระโจมหรือในโรงเรือนให้อยู่ในระดับ 37-40 องศาเซลเซียส 

หาก อุณหภูมิสูงเกินไปให้เปิดช่องระบายอากาศด้านบนของโรงเรือนออกโดยใช้วัสดุพรางแสงคลุม หรือรดน้ํารอบๆ โรงเรือน เมื่อครบกําหนด 4 วันแล้ว 

ให้เปิดผ้าพลาสติก หรือประตูโรงเรือนอย่างน้อย 2-3 ชั่วโมง เพื่อให้มีการ ถ่ายเทอากาศ (ออกซิเจน) เพื่อให้เส้นใยเห็ดฟางสร้างจุดกําเนิดออก 

ถ้าวัสดุแห้งเกินไปให้รดน้ำหรือที่เรียกว่า การตัดใยเห็ด ในระหว่าง วันที่ 5-8 ต้องควบคุมอุณหภูมิภายในโรงเรือนให้อยู่ระหว่าง 28-32 องศาเซลเซียสซึ่ง 

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

1.มีเทคนิค อค์ความรู้ ในการถ่ายทอดให้คนในชุมชนสามารถนำไปปฏิบัติตามได้โดยง่าย

2.ครัวเรือนสัมมาชีพ และปราชญ์สัมมาชีพให้ความสนใจ เกิดความกระตือรือร้น ในการทำกิจกรรมสัมมาชีพเพื่อสร้างอาชีพให้แก่ตนเอง

3.ผู้นำในชุมชนให้ความร่วมมือในการประชาสัมพันธ์ การประสานงาน

4.เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน ให้ความรู้ ความเข้าใจ และคอยเป็นที่ปรึกษาในการดำเนินกิจกรรมสัมมาชีพในหมู่บ้าน

อุปกรณ์ ->

ถ้าวัสดุแห้งเกินไปให้รดน้ำหรือที่เรียกว่า การตัดใยเห็ด ในระหว่าง วันที่ 5-8 ต้องควบคุมอุณหภูมิภายในโรงเรือนให้อยู่ระหว่าง 28-32 องศาเซลเซียสซึ่ง 

ในช่วงนี้จะมีการรวมตัวของเส้นใยเป็นดอกเล็กๆ จํานวนมาก เมื่ออายุได้ 9-12 วัน ก็เก็บดอกเห็ดได้

กระบวนการ/ขั้นตอน->

ข้อพึงระวัง ->

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดขอนแก่น
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา