เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

เทคนิคการเลี้ยงปลาดุกในกระชังบ้านแดงใหญ่ ม.1

โดย : นายหลง มาก้อม ตำแหน่ง : ปราชญ์ชุมชน วันที่ : 2017-06-30-11:52:11

ที่อยู่ : 31 หมู่ 1 ตำบลแดงใหญ่

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

มีประสบการณ์ในการเลี้ยงปลาดุก ปลาดุกเป็นปลาที่เลี้ยงง่าย โตเร็ว ไม่ต้องดูแลมาก และประสบความสำเร็จในการเลี้ยงปลาดุกมาก่อน และอยากถ่ายทอดให้คนในชุมชนนำไปประกอบอาชีพ

วัตถุประสงค์ ->

- จัดทีมวิทยากรสัมมาชีพ ชุมชนระดับหมู่บ้าน พร้อมมอบหมายภารกิจ หน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุน กำกับและ ติดตามครัวเรือนเป้าหมาย ที่ผ่านการอบรมอาชีพ ซึ่ง เรียกว่า “ครัวเรือน สัมมาชีพชุมชน” โดย 1 หมู่บ้านให้แบ่งสัดส่วนของ ทีมวิทยากรสัมมาชีพ ชุมชน 1 คน ต่อ ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน 4 ครัวเรือน

 - ทบทวนและจัดทำ แผนปฏิบัติการฝึกอบรม อาชีพและส่งเสริม สนับสนุน กำกับและ ติดตามครัวเรือนเป้าหมาย ที่ผ่านการอบรมอาชีพ ซึ่ง เรียกว่า “ครัวเรือน สัมมาชีพชุมชน

- ทีมวิทยากร สัมมาชีพชุมชน ระดับหมู่บ้านร่วมกัน วิเคราะห์ข้อมูลความ ต้องการอาชีพจาก แบบความต้องการ ฝึกอาชีพของคนใน ชุมชนที่ได้สำรวจไว้ แล้ว โดยจัดกลุ่ม ความต้องการอาชีพ แล้วจึงวิเคราะห์ให้ เชื่อมโยงกับตลาด สร้างผลผลิต สร้าง ผลิตภัณฑ์เข้าสู่ ระบบ OTOP และ กำหนดการดำเนินงานของ บริษัทประชำรัฐรัก สามัคคี ขอนแก่น จำกัด

 – จัดเตรียมพื้นที่ ฝึกอบรม พื้นที่ดูงาน วัสดุ/อุปกรณ์ การสร้างสัมมาชีพ ชุมชน

โดยมีขั้นตอนดังนี้

1.จัดทำกระชังเลี้ยงปลาให้มีขนาดตามต้องการ ควรนำกระชังไปแช่ในน้ำในสถานที่ที่จะเลี้ยง 5-7 วัน ก่อนนำลูกพันธุ์ปลามาเลี้ยง

2.ซื้อพันธุ์ปลาดุก ที่มีคุณภาพ ทนทานต่อโรค (ในที่นี้ใช้พันธุ์ปลาดุกบิ๊กอุย)

3.นำลูกพันธุ์ปลาไปเลี้ยงในกระชัง โดยแบ่งให้อาหาร 4-6 ครั้ง หลังจากนั้นก็ลดจำนวนครั้งลง ตามอายุการเติบโตของปลาดุก

4.ใช้เวลาเลี้ยงประมาณ 1-6 เดือน ก็สามารถนำไปขายได้

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

1.เกิดจากความภาคภูมิใจที่สามารถเลี้ยงปลาดุกจนประสบความสำเร็จ ขาย เลี้ยงชีพได้

2.ครัวเรือนสัมมาชีพ และปราชญ์สัมมาชีพให้ความสนใจ เกิดความกระตือรือร้น ในการทำกิจกรรมสัมมาชีพเพื่อสร้างอาชีพให้แก่ตนเอง

3.ผู้นำในชุมชนให้ความร่วมมือในการประชาสัมพันธ์ การประสานงาน

4.เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน ให้ความรู้ ความเข้าใจ และคอยเป็นที่ปรึกษาในการดำเนินกิจกรรมสัมมาชีพในหมู่บ้าน

อุปกรณ์ ->

1.ปริมาณอาหาร ควรให้อาหารอย่างเหมาะสม

2.การขนส่งพันธุ์ปลา ควรมีหลังคาที่ช่วยป้องกันแสงแดด และไม่ควรขนส่งเกิน 6 ชม.

3.โรคระบาดในปลา เช่น โรคท้องบวม โรคแผลตามลำตัว

กระบวนการ/ขั้นตอน->

ข้อพึงระวัง ->

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดขอนแก่น
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา