เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

การถักแห

โดย : นายยิ้ม เชื้องาม ตำแหน่ง : ปราชญ์ชุมชน วันที่ : 2017-06-16-11:02:17

ที่อยู่ : 102 หมู่ 5 ตำบลห้วยกระเจา อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

เป็นการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นจากรุ่นสู่รุ่น คงความเชื่อโบราณหรือเป็นวิถีชีวิตปกติ การถักแหมีมาตั้งแต่ช้านานซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ใช้ในการทำมาหากินและเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการดำรงชีวิตในอดีต ซึ่งปัจจุบันก็ยังคงมีอยู่ตามชนบททั่วไป

วัตถุประสงค์ ->

วิธีการถักแห ขั้นแรกจะต้องเตรียมอุปกรณ์ในการถักแห ให้ครบ แล้วเตรียมเหลาไม้ไผ่ขนาดเล็กใหญ่ เนื่องจากขนาดรอบของด้ายที่จะใช้สานมีขนาดความยาวมากน้อยแตกต่างกัน จะเริ่มต้นสานแหจากจอมแหก่อนเพิ่มและขยายรอบการถักออกและขยายตาข่ายให้กว้างเพื่อที่จะทำให้เป็นวงกลมทั้งฝืน ตามขนาดของการใช้งาน ขนาดของการสานแห ยาวขนาด เจ็ดศอก เก้าข้อศอก และ สิบเอ็ดข้อศอก ขนาดความกว้างมีหลายขนาด อาทิ แหขนาดตาข่าย สองเซ็น สี่เซ็น ห้าเซ็น (เซนติเมตร) ภาษาท้องถิ่นจะเรียกขนาดของตาข่ายว่าเซ็น เป็นต้น ซึ่งจะสานตามความต้องการของการใช้งาน ขั้นตอนพอสังเขป ในการถักแห

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

อดทน เรียนรู้เพิ่มเติมตลอดเวลา และถ่ายทอดภูมิปัญญาจากรุ่น สู่รุ่นให้คงอยู่

อุปกรณ์ ->

กระบวนการ/ขั้นตอน->

ข้อพึงระวัง ->

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดกาญจนบุรี
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา