เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

การเพาะปลูกเห็ดโคลน

โดย : นางอำพร ลาสอน ตำแหน่ง : ปราชญ์ชุมชน วันที่ : 2017-03-04-08:47:51

ที่อยู่ : 1 หมู่ 3 บ้านห้วยบง ตำบลทุ่งรวงทอง อำเภอจุน

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ของตำบลทุ่งรวงทองมีอาชีพหลักคือเกษตร ทำนา/ทำไร่ จากหลังฤดูเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จทำให้ชาวบ้านเกิดการว่างงานไม่มีอาชีพเสริม เลยเล็งเห็นปัญหาการเกิดมลพิษ ปัญหาหมอกควันสาเหตุมาจากการเผาตอซังข้าว การเกิดมลพิษในอากาศ และได้มองเห็นเศษฟางในนาข้าวทิ้งไว้โดยเปล่าประโยชน์ จึงนำฟางข้าวมาเพาะปลูกเห็ดโคลน เพื่อลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ให้กับครัวเรือนและชุมชน ยึดหลักตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เพื่อเป็นแบบอย่างมาถึงปัจจุบัน

วัตถุประสงค์ ->

-นำฟางข้าวแช่น้ำค้างไว้ 1 คืน

-หัวเชื้อ 1 ก้อนแบ่งเป็น 3 กอง แบ่งเพาะได้ 3 ตะกร้า

-นำฟางอัดลงก้นตะกร้า กดให้แน่นความสุง 1 ฝ่ามือ

-นำอาหารเสริมต่างๆ เช่นรำข้าวมาผสมกับเชื้อเห็ด

-ขี้วัวแห้ง/ ปุ๋ยสูตร 46-0-0

-โรยเชื้อเห็ดที่ผสมกับรำข้าววางทับกันให้เป็นชั้นๆ 

-ชั้นบนสุด โรยอาหารเสริมให้เต็มหน้า ตะกร้า โรยให้ทั่ว กลบด้วยอาหารเสริมอีกครั้ง

-นำปุ๋ยสูตร 46-0-0 จำนวน 1 ช้อนแกง ผสมกับน้ำเปล่าต่อ 1 บัวรดน้ำ

-นำพลาสติกมาคลุมให้มิดชิด

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

สร้างโอกาส จากปัญหาที่เกิดขึ้น และลงมือทำอย่างตั้งใจ

อุปกรณ์ ->

กระบวนการ/ขั้นตอน->

ดอกเห็ดที่ได้รับการเก็บเกี่ยวแล้ว ยังจะเจริญเติบโตต่อเนื่องอย่างรวดเร็วหากเก็บไว้ในที่มีอุณหภูมิสูงจะทำให้ดอกเห็ดไม่มีคุณภาพน้ำหนักเบา บานง่าย ดังนั้นการเก็บเกี่ยวเห็ดโคนน้อย ไม่ควรเก็บใส่ในภาชนะที่ทึบและอับไม่ควรใส่เข้าไปในภาชนะให้มีปริมาณมากจนเกินไปมักจะนิยมใช้ตะกร้าโปร่งที่สามารถใส่ดอกเห็ดได้ประมาณ 4-5 กก. เมื่อทำการเก็บเกี่ยวเรียบร้อยแล้วควรรีบนำไปตัดแต่ง ทำความสะอาดแล้วนำไปจำหน่ายโดยเร็ว หากปล่อยทิ้งไว้ ดอกเห็ดจะบานและกลายเป็นสีดำอย่างรวดเร็วเนื่องจากเห็ดมีการสลายตัว แต่ถ้าต้องการยืดอายุในการเก็บรักษา ควรเก็บไว้ในตู้เย็นที่อุณหภูมิ 8-10 องศาเซลเซียส สามารถเก็บในรูปเห็ดสดได้นานข้ามวันได้  

ข้อพึงระวัง ->

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนศูนย์ศีกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา