ความรู้สัมมาชีพชุมชน

งานเชื่อมเหล็กดัด ประตู หน้าต่าง และเชื่อมเหล็กทุกชนิด

โดย : นายทองคำ ลอยทอง วันที่ : 2017-04-03-16:48:07

ที่อยู่ : บ้านเลขที่ 3 หมู่ที่ 4 ตำบลน้ำพี้

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

วัตถุประสงค์ ->

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

อุปกรณ์ ->

กระบวนการ/ขั้นตอน->

จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์การเชื่อมให้พร้อม ได้แก่

                - หน้ากากเชื่อม เพื่อป้องกันแสงและรังสีจากประกายไฟ (หน้ากากมือถือ หรือหน้ากากสวมศีรษะ)

                - เอี๊ยมกันไฟ

                - ถุงมือเชื่อม

                - แปรงลวด

                - ค้อนเคาะสแล็ก

                - คีมจับงานร้อน

                - สายไฟเชื่อมไฟฟ้า

                วิธีการขั้นตอนการเชื่อมอารคไฟฟาดวยลวดเชื่อมหุมฟลัคซ

                1. การเริ่มตนจุดเชื่อม  โดยจะเริ่มจากการทําใหเกิดการอารค เมื่อเกิดการอารคแลว จึงยกลวดเชื่อมขึ้นโดยประมาณ และควบคุมระยะอารคใหไดระยะเทากับเสนผาศูนยกลางของลวดเชื่อม
ปรับมุมลวดเชื่อมใหไดตามลักษณะของรอยตอหรือตําแหนงทาเชื่อมที่กําหนด ซึ่งจะมีความแตกตางกันไปในแตละรอยตอหรือตําแหนงทาเชื่อม รอใหเกิดการหลอมละลายของลวดเชื่อมอยางสมบูรณกอน จึงเคลื่อนลวดเชื่อมไปตามทิศทางที่ตองการเชื่อม ขณะเดียวกันเมื่อเกิดการอารค ลวดเชื่อมจะถูกหลอมละลายหดลง ดังนั้นจะตองกดลวดเชื่อมเติมลงในบอหลอมละลายอยางสม่ำเสมอ

               2. จุดสิ้นสุดแนวเชื่อม เมื่อควบคุมการเชื่อมมาจนถึงจุดสิ้นสุดแนวเชื่อม ปลายสุดของแนวเชื่อมจะเปนแองโลหะปลายแนวเชื่อม ซึ่งเปนจุดที่มีความแข็งแรง ค่าสุดของแนวเชื่อม และเปนจุดเริ่มตนของการแตกราว จึงจําเปนตองเติมลวดเชื่อมที่ปลายแองโลหะใหเต็ม โดยการเดินยอนกลับเล็กนอย แลวหยุด
ลวดเชื่อมเติมลงแองปลายแนวเชื่อมใหเต็ม เอนลวดเชื่อมประมาณ 15-30 องศา ใหสะบัดลวดเชื่อมกลับยอนทางแลวยกลวดเชื่อมขึ้น

                 3. การตอแนวเชื่อม ลวดเชื่อมไฟฟาที่มีสารพอกหุม เมื่อเชื่อมจนปลายลวดเชื่อมเหลือประมาณ 1½ นิ้ว จะตองมีการเปลี่ยนลวดเชื่อมและการเปลี่ยนลวดเชื่อมใหม จะตองใชลวดเชื่อมที่มีคุณสมบัติเทากับลวดเชื่อมเดิม ซึ่งการตอแนวเชื่อมมีวิธีการปฏิบัติดังนี้

                     3.1. ตอแนวเชื่อมในกรณีที่แองปลายแนวเชื่อมยังรอนอยู ใหเชื่อมตอไดทันที ไมตองเคาะ สแลกทําความสะอาด โดยเริ่มอารคหางจากแองหลอมละลายในลักษณะอารคหางหรืออารคยาว
แลวจึงเคลื่อนลวดเชื่อมกลับไปตรงแองหลอมละลายของแนวเชื่อม

                     3.2. การตอแนวเชื่อมในกรณีที่แองปลายแนวเชื่อมเย็นลงแลว ใหทําการเคาะสแลกออกแลวทําความสะอาดแนวเชื่อมกอน หลังจากนั้นใหเริ่มอารคเหมือนเดิม

                 4. การเดินแนวและการสายลวดเชื่อม การเชื่อมเพื่อใหไดแนวเชื่อมที่สมบูรณ ทั้งแนวกวางและแนวแคบ ตองอาศัยการซึมลึกที่ดี ซึ่งมีเทคนิควิธีการเดินแนวและการสายลวดเชื่อม ดังนี้

                     4.1. การเดินแนวเชื่อมเพื่อปองกันลวดเชื่อม โดยไมสายลวดเชื่อม แตถาเปนการฝกใหม ๆ มือจะสั่นเล็กนอยก็เหมือนกับการสายแนวเปนลวกลมเล็ก ๆ

                     4.2 การเดินแนวและสายลวดเชื่อมสลับไขวไปทางซายและทางขวามือ โดยไมตองหยุดตรงกลางแนวเชื่อม

                     4.3 การเดินแนวและสายลวดเชื่อมแบบเดินหนา-ถอยหลัง ตามแนวการเชื่อมวิธีนี้มักจะนิยมใชกับการเชื่อมตอชนแนวซึมลึกแนวแรก การเดินหนา คือ การใหความรอนชิ้นงานการถอยหลัง คือ การเติมแนวเชื่อม เพื่อควบคุมรูกุญแจ การเดินแนวและสายลวดเชื่อมไมจําเปนตองใชเสมอไป ขึ้นอยูกับความตองการสําหรับรอยเชื่อมนั้น ๆ สวนมุมในการเชื่อมก็จะเปลี่ยนแปลงไปตามตําแหนงทาเชื่อม ซึ่งในการเชื่อมตาง ๆ จะมีวิธีการสายลวดเชื่อมแตกตางกันออกไป

ข้อพึงระวัง ->

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดอุตรดิตถ์
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา