ความรู้สัมมาชีพชุมชน

image1

การเลี้ยงกบ

โดย : นายวิลัย ดอนน้อย วันที่ : 2017-03-11-15:31:12

ที่อยู่ : 44 ม.7 ต.กุดปลาดุก

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

เมื่อปี พ.ศ. 2557 ได้มีได้เข้ารับการฝึกอบรมส่งเสริมอาชีพจากเทศบาลตำกุดปลาดุก ซึ่งมีความสนใจในเรื่องการเลี้ยงกบในบ่อซีเมนต์เป็นพิเศษ และมีหน่วยงานภาครัฐ/รัฐวิสาหกิจหลายอีกหน่วย อาทิเช่น สำนักงานเกษตรอำเภอชื่นชม ปศุสัตว์อำเภอชื่นชม ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาชื่นชม สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอชื่นชม ลงมาส่งเสริม/สนับสนุนการเลี้ยงไก่พื้นเมือง จึงได้นำความรู้ที่ได้รับกลับมาฝึกปฏิบัติในพื้นที่ส่วนตัว ซึ่งผลที่ได้เป็นที่น่าพึงพอใจ เนื่องจากสามารถลดรายจ่ายในครัวเรือนได้ อีกทั้งยังแจกจ่ายแบ่งปันให้กับญาติพี่น้อง ครัวเรือนใกล้เคียง และเป็นการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน

วัตถุประสงค์ ->

เพื่อหาอาชีพเสริม สร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

อุปกรณ์ ->

กระบวนการ/ขั้นตอน->

ข้อพึงระวัง ->

1. งดให้อาหารกบ เพราะถ้ากบกินอาหารแล้วต้องกระโดดเต้นไปมาเพราะตกใจเนื่องจากคนลงไปรบกวนที่อยู่อาศัย โอกาสจุกเสียดแน่นถึงตายมีมาก

2. ควรหาวัสดุที่โปร่งเป็นโพรง เช่น ทางมะพร้าวสุมทุมเพื่อให้กบเข้าไปหลบซ่อนตัวเมื่อเข้าไปทําความสะอาด โดยเฉพาะในบ่อซีเมนต์เมื่อปล่อยนํ้าเก่าทิ้งจนแห้ง กบจะเข้าไปหลบตัวในสุมทุมนั้น จะไม่ออกมากระโดดเต้นจนเป็นเหตุให้เจ็บป่วย

3. หลังจากทําความสะอาดแล้ว อาหารมื้อต่อไปควรผสมยาลงไปด้วยทุกครั้งเพื่อบรรเทาการอักเสบลงได้ อนึ่ง ลักษณะการงดให้อาหารเช่นนี้จะต้องกระทําทุกครั้งที่มีการลำเลียงเคลื่อนย้ายกบ ไม่ว่าจะเป็นพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ หรือลูกกบก็ตาม ยาที่ผสมในอาหารให้กบกินนั้นถ้ามีอาการไม่รุนแรงนักก็ใช้ออกซีเตต้าซัยคลิน 1 ช้อนแกง ผสมลงในอาหาร 3 กก. เช่นกัน ทั้งนี้เพราะตัวยาแรงผิดกันและให้กบกินมื้อเดียวแล้วหยุดไปประมาณ 5-6 วัน (เฉพาะอาหารที่ผสมยา) เพื่อสังเกตดูอาการของกบว่าทุเลาลงแล้วหรือไม่ ถ้ายังไม่มีอาการดีขึ้นก็ให้อาหารผสมยาขนาดดังกล่าวเพิ่มขึ้นอีก 1 มื้อ

รูปประกอบ -> image1 image2

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดมหาสารคาม
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา