ความรู้สัมมาชีพชุมชน

image1

เพาะเห็ดฟาง

โดย : นายสมบูรณ์ คำพันธ์ วันที่ : 2017-03-25-16:02:00

ที่อยู่ : บ้านเลขที่ 36 ม.3 ต.หนองไผ่ อ.นาดูน จ.มหาสารคาม

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

เห็ดฟางเป็นเห็ดยอดนิยมของคนไทย นิยมเพาะกันบนกองฟางข้าวชื้นๆ โคนมีสีขาว ส่วนหมวกสีน้ำตาลอมเทา หาซื้อได้ง่ายตามท้องตลาดตลอดทั้งปีเดิมคนไทยเรียกเห็ดฟางว่า เห็ดบัว เพราะมีเกิดขึ้นได้เองในกองเปลือกเมล็ดบัวที่กะเทาะเมล็ดภายในออกแล้ว ต่อมาเมื่อมีการส่งเสริมให้ใช้ฟางเพาะจึงนิยม เรียกว่า เห็ดฟางเห็ดฟาง เป็นพืชชั้นต่ำซึ่งจัดเป็นราชนิดหนึ่ง ไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้ ไม่มีสารสีเขียว ต้องอาศัยสารอินทรีย์จากสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตอื่น ๆ เพื่อใช้ในการเจริญเติบโต มนุษย์สามารถนำมาใช้เป็นอาหารได้ เนื่องจากเห็ดเป็นอาหารที่มีรสชาติดี นอกจากเห็ดจะมีประโยชน์ต่อชีวิตประจำวันของมนุษย์ในแง่ของอาหารและยาป้องกันรักษาโรคแล้ว เห็ดยังมีความสำคัญทางเศรษฐกิจอีกด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศไทย ซึ่งมีสภาพแวดล้อมเหมาะสมสำหรับการเพาะเห็ดหลายชนิดประกอบกับต้นทุนในการผลิตเห็ดแต่ละชนิดค่อนข้างต่ำ จึงทำให้ผู้เพาะเห็ดมีรายได้ดี

วัตถุประสงค์ ->

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

1.เชื้อเห็ด

อุปกรณ์ ->

3.1 กากมัน                         3.6 ปูนขาว

          3.2 เชื้อเห็ดฟาง                     3.7 บล็อกไม้ขนาด 20x40 ซม. หนา 10 ซม.

          3.3 ปุ๋ยคอก                         3.8 ปุ๋ยยูเรีย

          3.4 ฟางข้าว

          3.5 ผ้ายาง

กระบวนการ/ขั้นตอน->

1.      การทำแปลง โดยกำหนดความยาวประมาณ 5 เมตร กว้าง 60 ซม.

2.      เกลี่ยพื้นให้เป็นล่องเล็กน้อย นำบล็อกไม้ไปขาวงแล้วเอากากมันใส่อัดให้แน่น

3.      ยกบล็อกไม้ออกให้ก้อนกากมันค้างอยู่ ทำก้อนต่อไปในแบบเดียวกันห่างกัน 5 เมตร ความห่างของก้อนกากมันประมาณ 10 ซม.

4.      นำปูนขาวมาโรยบริเวณแปลงเห็ด นำปุ๋ยยูเรียมาโรยให้ใช้บางเบา ส่วนปุ๋ยคอกให้ใช้ประมาณ 2 ถังน้ำขนาดกลาง เสร็จแล้วลดน้ำให้เปียก และปล่อยทิ้งไว้ 3 วัน

ข้อพึงระวัง ->

รูปประกอบ -> image1 image2

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดมหาสารคาม
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา