ความรู้สัมมาชีพชุมชน

การขยายพันธุ์ไผ่-ขยายพันธุ์ไม้ การปลูกต้นไม้

โดย : นายชนาธิป อ้นภา วันที่ : 2017-03-14-11:23:47

ที่อยู่ : บ้านเลขที่ 137 หมู่ที่ 6 ตำบล ท่างาม

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

เป็นการถ่ายทอดองค์ความรู้จากรุ่นสู่รุ่น แล้วมีการศึกษาหาความรู้ เข้ารับการฝึกอบรมจากหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชนเพื่อพัฒนาความรู้ เสริมสร้างประสบการณ์  จนสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับบุคคลอื่นได้ และเป็นวิทยากรอบรมให้กับชาวบ้านได้

วัตถุประสงค์ ->

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

อุปกรณ์ ->

กระบวนการ/ขั้นตอน->

วิธีการขยายพันธุ์ไผ่เลี้ยงที่นิยมปฏิบัติมีวิธีเดียว คือ การแยกลำต้นพร้อมเหง้า ซึ่งมี 2 รูปแบบ คือ

แบบที่ 1 การขยายพันธุ์โดยการแยกลำพร้อมเหง้า   เป็นวิธีที่ได้ผลในการที่จะขยายพันธุ์ได้อย่างรวดเร็วและมี ประสิทธิภาพในเวลาสั้น เนื่องจากไผ่เลี้ยงมีการเจริญเติบโตและสร้างกอรวดเร็ว มีจำนวนลำต่อกอมากจึงทำได้รวดเร็ว แต่วิธีนี้มีข้อจำกัดในการขยายพันธุ์ที่ต้องการปริมาณมากๆ ในเวลารวดเร็วเพื่อปลูกบนพื้นที่ผืนใหญ่ อายุของลำที่จะใช้แยกลำพร้อมเหง้า   คือ ช่วงอายุระหว่าง 8 เดือนถึง 20 เดือนเท่านั้นเช่นเดียวกับไผ่ซางและไผ่สีสุก โดยแยกลำเฉพาะส่วนโคนที่มีเหง้าของลำต้นติดมาอย่างสมบูรณ์

ข้อสังเกต ต้นที่มีอายุเกิน 2 ปีจะได้ผลไม่ดีเท่าต้นที่มีอายุ 1-2 ปี ซึ่งจะแตกหน่อต่ำหรืออาจไม่แตกเลย ดังนั้นการขยายพันธุ์จากกอที่เริ่มปลูก 2-3 ปี จึงจะได้ผลดี

แบบที่ 2 การแยกกอขนาดเล็ก   จากการพันธุ์ในแบบที่ 1 ต้องใช้ถุงขนาดใหญ่เพาะชำแล้วนำไปเลี้ยงดูในโรงเรือน ระยะหนึ่งจะได้กอขนาดเล็กจำนวน 2-3 ลำขึ้นไป จากนั้นจึงทำการแยกกอขนาดเล็กที่สมบูรณ์แล้วออก 1 ใน 4 เพื่อกระตุ้นให้สร้างหน่อจำนวนมากในถุงเพาะชำก็จะได้หน่อขนาดเล็กจำนวนมาก ขึ้น สามารถแยกเป็นปริมาณกล้าได้มากขึ้น

วิธีการขยายพันธุ์ไผ่เลี้ยงที่นิยมปฏิบัติมีวิธีเดียว คือ การแยกลำต้นพร้อมเหง้า ซึ่งมี 2 รูปแบบ คือ

แบบที่ 1 การขยายพันธุ์โดยการแยกลำพร้อมเหง้า   เป็นวิธีที่ได้ผลในการที่จะขยายพันธุ์ได้อย่างรวดเร็วและมี ประสิทธิภาพในเวลาสั้น เนื่องจากไผ่เลี้ยงมีการเจริญเติบโตและสร้างกอรวดเร็ว มีจำนวนลำต่อกอมากจึงทำได้รวดเร็ว แต่วิธีนี้มีข้อจำกัดในการขยายพันธุ์ที่ต้องการปริมาณมากๆ ในเวลารวดเร็วเพื่อปลูกบนพื้นที่ผืนใหญ่ อายุของลำที่จะใช้แยกลำพร้อมเหง้า   คือ ช่วงอายุระหว่าง 8 เดือนถึง 20 เดือนเท่านั้นเช่นเดียวกับไผ่ซางและไผ่สีสุก โดยแยกลำเฉพาะส่วนโคนที่มีเหง้าของลำต้นติดมาอย่างสมบูรณ์

ข้อสังเกต ต้นที่มีอายุเกิน 2 ปีจะได้ผลไม่ดีเท่าต้นที่มีอายุ 1-2 ปี ซึ่งจะแตกหน่อต่ำหรืออาจไม่แตกเลย ดังนั้นการขยายพันธุ์จากกอที่เริ่มปลูก 2-3 ปี จึงจะได้ผลดี

แบบที่ 2 การแยกกอขนาดเล็ก   จากการพันธุ์ในแบบที่ 1 ต้องใช้ถุงขนาดใหญ่เพาะชำแล้วนำไปเลี้ยงดูในโรงเรือน ระยะหนึ่งจะได้กอขนาดเล็กจำนวน 2-3 ลำขึ้นไป จากนั้นจึงทำการแยกกอขนาดเล็กที่สมบูรณ์แล้วออก 1 ใน 4 เพื่อกระตุ้นให้สร้างหน่อจำนวนมากในถุงเพาะชำก็จะได้หน่อขนาดเล็กจำนวนมาก ขึ้น สามารถแยกเป็นปริมาณกล้าได้มากขึ้น

ข้อพึงระวัง ->

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดพิษณุโลก
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา