ความรู้สัมมาชีพชุมชน

สานแห

โดย : นายทองคำ.......เปลวพรม วันที่ : 2017-03-16-15:47:45

ที่อยู่ : บ้านเลขที่ ...138....หมู่ ...2.. ตำบล ..วังตะเคียน... อำเภอ ...กบินทร์บุรี

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

ภูมิปัญญาท้องถิ่นเรื่องการสานแห เริ่มมาจากสมัยก่อนนั้น ครอบครัวไทยเป็นครอบครัวภาคเกษตรกรรม มีการทำมาหากินตามธรรมชาติ จับปลาโดยใช้เป็ด ยกยอ และใช้แหเป็นเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำ เพื่อนำมาประกอบเป็นอาหารการกิน เลี้ยงดูครอบครัว โดยได้สืบทอดภูมิปัญญาการสานแห หรือที่เรียกว่าถักแห มาจากรุ่นพ่อรุ่นแม่ โดยเริ่มมีความสนใจการสานแหมา และได้ลองผิดลองถูกเรื่อยมา รวมทั้งได้ศึกษาหาความรู้และเทคนิคใหม่ๆ เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ที่ออกมามีความแข็งแรง และทนทาน

วัตถุประสงค์ ->

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

อุปกรณ์ ->

กระบวนการ/ขั้นตอน->

แหถี่(ตาเล็ก) มีตาเล็กกว่า1 นิ้ว    แหห่าง (ตาใหญ่) มีตาใหญ่กว่า 1 นิ้วขึ้นไปถ้าแบ่งตามลักษณะของแห ลงน้ำที่นำแหไปใช้ คือ ทุกพื้นที่ ที่มีน้ำขัง จะใช้แหขนาดยาว 9 ศอก โดยการเหวี่ยงหรือหว่านแห จากเรือหาปลา สวนแหห้วย แหหนอง จะยาว 5 - 6 ศอก โดยการเหวี่ยงแหจากฝังหรือลุยน้ำเหวี่ยงแหในห้วย ในหนอง ถ้าแบ่งตามขนาดของแห นิยมใช้นิ้วมือเป็นเครื่องวัด คือแหชี้ (ขนาดตาแหนิ้วชี้) แหโป (ขนาดตาแหเท่าหัวแม่มือ) แหสอง (ขนาดตาแหเท่าสองนิ้ว) แหสาม แหสี่ แหห้า แหหก แหเจ็ด แหแปด (ใช้นิ้วมือเป็นมาตรฐานขนาดของตาแห)…………….

ข้อพึงระวัง ->

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดปราจีนบุรี
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา