ความรู้สัมมาชีพชุมชน

image1

หมอนรูปฝักทอง

โดย : นายประวิทย์ ช่างคำ วันที่ : 2017-04-19-11:47:43

ที่อยู่ : 135 ม.4 ต.เมืองแหง อ.เวียงแหง

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

การดำรงชีวิตในปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นเครื่องอุปโภคบริโภค    การคมนาคม การอุตสาหกรรม การผลิตพลังงานล้วนแต่เปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งการพัฒนาในหลายๆด้านทำให้ในปัจจุบัน ภูมิปัญญาไทยได้ถูกหลงลืมไป ผู้คนส่วนใหญ่ล้วนเข้ามาทำงานในเมืองใหญ่ และด้วยงานที่รัดตัวของผู้คนทำให้ผู้คนไม่มีเวลาในการทำงานบ้าน งานเย็บปักถักร้อยจึงทำให้การทำหมอนฝักทองและการเย็บปักถักร้อย งานฝีมือต่างๆถูกหลงลืมและถูกลดความสำคัญลงไป

 

       ดังนั้นการอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรม ภูมิปัญญาจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการโดยเฉพาะการเผยแพร่แก่คนรุ่นใหม่ได้รู้จักการทำหมอนฝักทอง เพราะในชุมชนได้มีการทำหมอนฝักทองอยู่แล้ว และหมอนฝักทองเองก็ยังสามารถใช้ประโยชน์ได้หลายอย่างไม่ว่าจะเป็น ประดับตกแต่งบ้าน ใช้ประกอบพิธีต่างๆเช่น งานแต่งงาน งานบวชและใช้ในโอกาสสำคัญต่างๆ

วัตถุประสงค์ ->

1.เพื่ออนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมการทำหมอนฟักทอง

2.เพื่อการสร้างงานสร้างรายได้แก่คนในชุมชน

3.เพื่อเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

อุปกรณ์ ->

ด้ายคละสี

เข็มหมุด

เข็มสอย

กรรไกร

ผ้าสำหรับเย็บ

ไม้หนีบผ้า

กระบวนการ/ขั้นตอน->

1.  กางผ้าสำหรับเย็บที่พื้น

ชื่อโครงงาน  การทำหมอนฟักทอง

ผู้จัดทำ   นางสาว ดารณี มนเทียน เลขที่ 12

                นางสาว  ฟาริดา อ่อนเฉวียง เลขที่ 46
                ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้อง 2

ครูที่ปรึกษา   คุณครู ปราณปรียา คุณประทุม

 

โรงเรียน         แก้งคร้อวิทยา อำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ

 

 

…………………………………………………………........................................

 

บทคัดย่อ

      โครงงานเรื่องการทำหมอนฟักทอง จัดทำขึ้นเพื่อสืบสานวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวบ้าน และเพื่อเรียนรู้การเย็บปักถักร้อย เพื่อเรียนรู้ถึงประวัติความเป็นมาเพื่อเรียนรู้วิธีการทำ ขั้นตอนการปฏิบัติ และเพื่อเผยแพร่ภูมิปัญญาชาวบ้านในตำบลบ้านแก้งให้คงอยู่และมีเชื่อเสียงและสืบทอดให้อยู่ต่อไป

   โดยกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ ชาวบ้าน บ้านโคกสูงวังศิลา ตำบล บ้านแก้ง อำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ โดยผู้จัดทำได้จัดทำโดยเรียนรู้จากชาวบ้านโดยการสอบถามแนวทางในการทำ

     จากการจัดทำโครงงานเรื่องการทำหมอนฝักทอง ผู้จัดทำทราบว่าการทำหมอนฝักทองนั้นชาวบ้านได้ทำกันมานานตั้งแต่ในอดีต โดยทำเป็นเครื่องประดับตกแต่งบ้าน และใช้ในงานพิธีต่างๆเช่นงานแต่งงาน การบวช ใช้เป็นของฝากและจากการศึกษาผู้จัดทำสามารถทำหมอนฝักทองได้ สามารถสอนหรือให้ข้อมูลแก่ผู้ที่สนใจได้และรวมถึงเผยแพร่ภูมิปัญญาของคนในท้องถิ่นให้ผู้สนใจต่อไป

 

 

กิตติกรรมประกาศ

 

    โครงงานฉบับนี้สำเร็จได้ด้วยความช่วยเหลือและสนับสนุนจากบุคคลหลายฝ่ายผู้จัดทำโครงงานรู้สึกซาบซึ้งเป็นอย่างยิ่งและขอกราบขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ด้วย

 

     ครู ปราณปรีญา คุณประทุม ที่ได้ให้คำปรึกษา และข้อเสนอแนะในการทำโครงงาน ทำให้โครงงานสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

    ครู ชาญเกียรติ  บุญโนนแต้  อาจารย์ที่ปรึกษาที่ให้คำแนะนำในการทำโครงงาน

    ครู ประไพ ศิลป์ประกอบ อาจารย์กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ที่ได้ให้คำปรึกษา การจัดทำและข้อมูลที่สำคัญเกี่ยวกับการทำหมอนฝักทอง

    กลุ่มแม่บ้าน ตำบลบ้านแก้ง ที่ได้ให้ความรู้ในการจัดทำโครงงาน

    คุณพ่อ คุณแม่ พี่น้อง เพื่อนๆทุกคนที่คอยให้การสนับสนุน ช่วยเป็นกำลังใจและส่งแรงใจในการทำโครงงานนี้มาตลอด

                                                                                                                                คณะผู้จัดทำ



บทที่1 บทนำ

ที่มาและความสำคัญ

 

      การดำรงชีวิตในปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นเครื่องอุปโภคบริโภค    การคมนาคม การอุตสาหกรรม การผลิตพลังงานล้วนแต่เปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งการพัฒนาในหลายๆด้านทำให้ในปัจจุบัน ภูมิปัญญาไทยได้ถูกหลงลืมไป ผู้คนส่วนใหญ่ล้วนเข้ามาทำงานในเมืองใหญ่ และด้วยงานที่รัดตัวของผู้คนทำให้ผู้คนไม่มีเวลาในการทำงานบ้าน งานเย็บปักถักร้อยจึงทำให้การทำหมอนฝักทองและการเย็บปักถักร้อย งานฝีมือต่างๆถูกหลงลืมและถูกลดความสำคัญลงไป

 

       ดังนั้นผู้จัดทำจึงคิดว่าน่าจะหาวิธีการอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรม ภูมิปัญญาโดยการจัดทำโครงงานขึ้นเพื่อเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ผู้คนรุ่นใหม่ได้รู้จัก ซึ่งผู้จัดทำได้เลือกที่จะจัดทำโครงงานเรื่อง การทำหมอนฝักทอง เพราะในชุมชนของผู้จัดทำเองก็ได้มีการทำหมอนฝักทองอยู่แล้ว และหมอนฝักทองเองก็ยังสามารถใช้ประโยชน์ได้หลายอย่างไม่ว่าจะเป็น ประดับตกแต่งบ้าน ใช้ประกอบพิธีต่างๆเช่น งานแต่งงาน งานบวชและใช้ในโอกาสสำคัญต่างๆ

 

     ซึ่งในการจัดทำโครงงานในครั้งนี้นอกจากผู้จัดทำจะได้เรียนรู้ถึงความเป็นมาของการทำหมอนของชาวบ้าน ขั้นตอนวิธีการทำ การทำหมอนฝักทองออกมาให้ดูสวยงามแล้วหลังการจัดทำ ผู้จัดทำยังสามารถนำความรู้ในการทำหมอนฝักทองไปใช้ประดิษฐ์ใช้ประโยชน์ได้อย่างล้นหลาม รวมถึงสามรถนำไปเผยแพร่ให้ผู้ที่สนใจซึ่งเป็นการสืบสานภูมิปัญญาของท้องถิ่นเอาไว้เป็นอย่างดี

 

 

 

จุดประสงค์ของการศึกษา

 

1.      เพื่อสืบสานภูมิปัญญาวัฒนธรรมของท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป

2.      เพื่อเผยแพร่ภูมิปัญญาในท้องถิ่นให้ผู้ที่สนใจรู้

3.      เพื่อให้เกิดการสร้างรายได้ในชุมชนที่จัดทำหมอนฟักทอง

4.      เพื่อนำภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มี มาใช้ให้เกิดประโยชน์กับท้องถิ่น

 
สมมติฐาน

หมอนฟักทองสามารถสร้างรายได้ให้กับผู้ผลิตในภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน

 

ขอบเขตของการศึกษา

กลุ่มแม่บ้านตำบล บ้านแก้ง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 



บทที่2

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

 

ภูมิปัญญาท้องถิ่น

           ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือ ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึงกระบวนการเรียนรู้ของชาวบ้านในท้องถิ่นจากประสบการณ์และความเชื่อ กลายเป็นความรู้ที่สั่งสมมาแต่บรรพบุรุษ สืบทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง โดยมีการปรับปรุง ประยุกต์และเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เป็นความรู้ที่สอดคล้องตามบริบททางสังคมวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมของชุมชน ภูมิปัญญาจึงเป็นความรู้ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตดั้งเดิมของชาวบ้าน เป็นวิถีชีวิตที่ไม่ได้แบ่งแยกเป็นส่วนๆ หากแต่ล้วนมีความสัมพันธ์กัน ไม่ว่าจะเป็นการทำมาหากิน การอยู่ร่วมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณี เชื่อมโยงกันระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ

 

ลักษณะของหมอน

            รูปร่างลักษณะของหมอนที่ทำมีอยู่ 2 แบบคือ หมอนรูปสี่เหลี่ยม และหมอนรูปสามเหลี่ยม แต่ลักษณะของหมอนจะมีขนาดหลายๆขนาดตั้งแต่ขนาดใหญ่จนถึงขนาดเล็กแล้วแต่ประโยชน์ที่จะนำไปใช้ลักษณะลวดลายหน้าหมอนจะมีการออกแบบเอง (แต่คงรักษาและเอกลักษณ์เป็นของตนเอง) และจะมีการตกแต่งอย่างสวยงาม

ผ้าตาดทอง
     ผ้าทอด้วยทองแล่ง(แผ่นเงินกาไหล่ทอง แล้วตัดเป็นเส้นๆบางๆคล้ายตอกที่เอามาสานเสื่อ)ทอเป็นพื้นทองเรียบๆ

การนำผ้าตาดทองไปใช้
-นำไปเป็นผ้าทรงสะพัก (สไบที่อยู่ชั้นนอกสุด) ของเจ้านายฝ่ายใน (สตรี)
-ตัดฉลององค์ให้เจ้านายฝ่ายหน้า (ชาย)
-นำไปเป็นผ้าเกี้ยว (ผ้าผูกเอว) ของเจ้านายฝ่ายหน้า

 นุ่น   (Kapok, Ceiba pentandra หรือ White silk cotton tree)

    ชื่ออื่น ง้าว งิ้วน้อย งิ้วสร้อย งิ้วสาย (เหนือ) เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นสูงประมาณ 10–15 เมตร ใบเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ ผลอ่อนสีเขียวลักษณะยาวๆคล้ายผลแตงกวา แต่มีขนาดใหญ่กว่า เมื่อแก่จะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล เนื้อข้างในเป็นปุยและมีเมล็ดสีดำจำนวนมาก ลำต้นและกิ่งก้านสีเขียว มีหนามสั้นๆที่โคนต้น กิ่งทอดขนานกับพื้น ทิ้งใบในฤดูแล้ง ดอกสีขาวนวล ผลทรงรูปกระสวย ออกผลช่วงเดือน กุมภาพันธ์-เมษายน

 ประโยชน์ของนุ่น

ส่วนที่ใช้เป็นอาหาร ฝักอ่อนมากๆ เนื้อในซึ่งยังไม่เปลี่ยนเป็นปุยนุ่นใช้เป็นอาหาร หรือจะกินสดๆหรือใส่แกง ใช้ปุยในผลแก่ยัดหมอน ฟูก ชาวบ้านป่ามักนำไปใช้เป็นส่วนประกอบหนึ่งของเชื้อไฟใน "ตะบันไฟ" เมล็ดใช้สกัดเป็นน้ำมันพืช กากที่เหลือใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ไส้นุ่น ใช้เพาะเห็ดฟาง เนื้อไม้นุ่น ทำกระสวยทอผ้า เยื่อกระดาษ ส้นรองเท้า ราก ใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์

       บทที่3

อุปกรณ์และวิธีดำเนินงาน


อุปกรณ์

-  ผ้าลายไทย กว้าง 1.10 เมตร            

-  เข็มใหญ่ (หัวทอง)

-  เข็มเล็ก (เข็มเย็บผ้าธรรมดา)

-  เข็มร้อยพวงมาลัย

-  นุ่น (ประมาณ 2 กิโลกรัม)              

-  ดินสอ 2 บี               

-  ไม้บรรทัดพลาสติก ยาว 60 เซนติเมตร                   

-  ด้าย (สีตามผ้าที่เลือก)
                                  

-  กระดุม (ที่สั่งอัดโดยใช้ลายจากผ้าที่เลือก)  จำนวน 2 เม็ด

-  กรรไกร

ขั้นตอนในการทำ

1.  กางผ้าตาดที่พื้น

2.  เอาไม้บรรทัดมาทาบแล้วขีดช่องตามลายที่ต้องการ  ถ้าทำลูกใหญ่ก็ขีด 8  ช่อง

3.  เย็บริมผ้าด้วยจักรเย็บผ้า

4.  ใช้เข็มสอยตามลายที่ได้ขีดไว้  การสอยต้องสอด 

5.   รอบกันผ้าหลุดออกมาและต้องสอยทีละแถว

6.  เย็บตรงจุดที่จะนำนุ่นยัดเข้าไปแล้วดึงผูกไว้มัดหลวม  ๆ

ชื่อโครงงาน  การทำหมอนฟักทอง

ผู้จัดทำ   นางสาว ดารณี มนเทียน เลขที่ 12

                นางสาว  ฟาริดา อ่อนเฉวียง เลขที่ 46
                ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้อง 2

ครูที่ปรึกษา   คุณครู ปราณปรียา คุณประทุม

 

โรงเรียน         แก้งคร้อวิทยา อำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ

 

 

…………………………………………………………........................................

 

บทคัดย่อ

      โครงงานเรื่องการทำหมอนฟักทอง จัดทำขึ้นเพื่อสืบสานวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวบ้าน และเพื่อเรียนรู้การเย็บปักถักร้อย เพื่อเรียนรู้ถึงประวัติความเป็นมาเพื่อเรียนรู้วิธีการทำ ขั้นตอนการปฏิบัติ และเพื่อเผยแพร่ภูมิปัญญาชาวบ้านในตำบลบ้านแก้งให้คงอยู่และมีเชื่อเสียงและสืบทอดให้อยู่ต่อไป

   โดยกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ ชาวบ้าน บ้านโคกสูงวังศิลา ตำบล บ้านแก้ง อำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ โดยผู้จัดทำได้จัดทำโดยเรียนรู้จากชาวบ้านโดยการสอบถามแนวทางในการทำ

     จากการจัดทำโครงงานเรื่องการทำหมอนฝักทอง ผู้จัดทำทราบว่าการทำหมอนฝักทองนั้นชาวบ้านได้ทำกันมานานตั้งแต่ในอดีต โดยทำเป็นเครื่องประดับตกแต่งบ้าน และใช้ในงานพิธีต่างๆเช่นงานแต่งงาน การบวช ใช้เป็นของฝากและจากการศึกษาผู้จัดทำสามารถทำหมอนฝักทองได้ สามารถสอนหรือให้ข้อมูลแก่ผู้ที่สนใจได้และรวมถึงเผยแพร่ภูมิปัญญาของคนในท้องถิ่นให้ผู้สนใจต่อไป

 

 

กิตติกรรมประกาศ

 

    โครงงานฉบับนี้สำเร็จได้ด้วยความช่วยเหลือและสนับสนุนจากบุคคลหลายฝ่ายผู้จัดทำโครงงานรู้สึกซาบซึ้งเป็นอย่างยิ่งและขอกราบขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ด้วย

 

     ครู ปราณปรีญา คุณประทุม ที่ได้ให้คำปรึกษา และข้อเสนอแนะในการทำโครงงาน ทำให้โครงงานสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

    ครู ชาญเกียรติ  บุญโนนแต้  อาจารย์ที่ปรึกษาที่ให้คำแนะนำในการทำโครงงาน

    ครู ประไพ ศิลป์ประกอบ อาจารย์กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ที่ได้ให้คำปรึกษา การจัดทำและข้อมูลที่สำคัญเกี่ยวกับการทำหมอนฝักทอง

    กลุ่มแม่บ้าน ตำบลบ้านแก้ง ที่ได้ให้ความรู้ในการจัดทำโครงงาน

    คุณพ่อ คุณแม่ พี่น้อง เพื่อนๆทุกคนที่คอยให้การสนับสนุน ช่วยเป็นกำลังใจและส่งแรงใจในการทำโครงงานนี้มาตลอด

                                                                                                                                คณะผู้จัดทำ



บทที่1 บทนำ

ที่มาและความสำคัญ

 

      การดำรงชีวิตในปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นเครื่องอุปโภคบริโภค    การคมนาคม การอุตสาหกรรม การผลิตพลังงานล้วนแต่เปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งการพัฒนาในหลายๆด้านทำให้ในปัจจุบัน ภูมิปัญญาไทยได้ถูกหลงลืมไป ผู้คนส่วนใหญ่ล้วนเข้ามาทำงานในเมืองใหญ่ และด้วยงานที่รัดตัวของผู้คนทำให้ผู้คนไม่มีเวลาในการทำงานบ้าน งานเย็บปักถักร้อยจึงทำให้การทำหมอนฝักทองและการเย็บปักถักร้อย งานฝีมือต่างๆถูกหลงลืมและถูกลดความสำคัญลงไป

 

       ดังนั้นผู้จัดทำจึงคิดว่าน่าจะหาวิธีการอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรม ภูมิปัญญาโดยการจัดทำโครงงานขึ้นเพื่อเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ผู้คนรุ่นใหม่ได้รู้จัก ซึ่งผู้จัดทำได้เลือกที่จะจัดทำโครงงานเรื่อง การทำหมอนฝักทอง เพราะในชุมชนของผู้จัดทำเองก็ได้มีการทำหมอนฝักทองอยู่แล้ว และหมอนฝักทองเองก็ยังสามารถใช้ประโยชน์ได้หลายอย่างไม่ว่าจะเป็น ประดับตกแต่งบ้าน ใช้ประกอบพิธีต่างๆเช่น งานแต่งงาน งานบวชและใช้ในโอกาสสำคัญต่างๆ

 

     ซึ่งในการจัดทำโครงงานในครั้งนี้นอกจากผู้จัดทำจะได้เรียนรู้ถึงความเป็นมาของการทำหมอนของชาวบ้าน ขั้นตอนวิธีการทำ การทำหมอนฝักทองออกมาให้ดูสวยงามแล้วหลังการจัดทำ ผู้จัดทำยังสามารถนำความรู้ในการทำหมอนฝักทองไปใช้ประดิษฐ์ใช้ประโยชน์ได้อย่างล้นหลาม รวมถึงสามรถนำไปเผยแพร่ให้ผู้ที่สนใจซึ่งเป็นการสืบสานภูมิปัญญาของท้องถิ่นเอาไว้เป็นอย่างดี

 

 

 

จุดประสงค์ของการศึกษา

 

1.      เพื่อสืบสานภูมิปัญญาวัฒนธรรมของท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป

2.      เพื่อเผยแพร่ภูมิปัญญาในท้องถิ่นให้ผู้ที่สนใจรู้

3.      เพื่อให้เกิดการสร้างรายได้ในชุมชนที่จัดทำหมอนฟักทอง

4.      เพื่อนำภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มี มาใช้ให้เกิดประโยชน์กับท้องถิ่น

 
สมมติฐาน

หมอนฟักทองสามารถสร้างรายได้ให้กับผู้ผลิตในภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน

 

ขอบเขตของการศึกษา

กลุ่มแม่บ้านตำบล บ้านแก้ง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 



บทที่2

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

 

ภูมิปัญญาท้องถิ่น

           ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือ ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึงกระบวนการเรียนรู้ของชาวบ้านในท้องถิ่นจากประสบการณ์และความเชื่อ กลายเป็นความรู้ที่สั่งสมมาแต่บรรพบุรุษ สืบทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง โดยมีการปรับปรุง ประยุกต์และเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เป็นความรู้ที่สอดคล้องตามบริบททางสังคมวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมของชุมชน ภูมิปัญญาจึงเป็นความรู้ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตดั้งเดิมของชาวบ้าน เป็นวิถีชีวิตที่ไม่ได้แบ่งแยกเป็นส่วนๆ หากแต่ล้วนมีความสัมพันธ์กัน ไม่ว่าจะเป็นการทำมาหากิน การอยู่ร่วมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณี เชื่อมโยงกันระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ

 

ลักษณะของหมอน

            รูปร่างลักษณะของหมอนที่ทำมีอยู่ 2 แบบคือ หมอนรูปสี่เหลี่ยม และหมอนรูปสามเหลี่ยม แต่ลักษณะของหมอนจะมีขนาดหลายๆขนาดตั้งแต่ขนาดใหญ่จนถึงขนาดเล็กแล้วแต่ประโยชน์ที่จะนำไปใช้ลักษณะลวดลายหน้าหมอนจะมีการออกแบบเอง (แต่คงรักษาและเอกลักษณ์เป็นของตนเอง) และจะมีการตกแต่งอย่างสวยงาม

ผ้าตาดทอง
     ผ้าทอด้วยทองแล่ง(แผ่นเงินกาไหล่ทอง แล้วตัดเป็นเส้นๆบางๆคล้ายตอกที่เอามาสานเสื่อ)ทอเป็นพื้นทองเรียบๆ

การนำผ้าตาดทองไปใช้
-นำไปเป็นผ้าทรงสะพัก (สไบที่อยู่ชั้นนอกสุด) ของเจ้านายฝ่ายใน (สตรี)
-ตัดฉลององค์ให้เจ้านายฝ่ายหน้า (ชาย)
-นำไปเป็นผ้าเกี้ยว (ผ้าผูกเอว) ของเจ้านายฝ่ายหน้า

 นุ่น   (Kapok, Ceiba pentandra หรือ White silk cotton tree)

    ชื่ออื่น ง้าว งิ้วน้อย งิ้วสร้อย งิ้วสาย (เหนือ) เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นสูงประมาณ 10–15 เมตร ใบเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ ผลอ่อนสีเขียวลักษณะยาวๆคล้ายผลแตงกวา แต่มีขนาดใหญ่กว่า เมื่อแก่จะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล เนื้อข้างในเป็นปุยและมีเมล็ดสีดำจำนวนมาก ลำต้นและกิ่งก้านสีเขียว มีหนามสั้นๆที่โคนต้น กิ่งทอดขนานกับพื้น ทิ้งใบในฤดูแล้ง ดอกสีขาวนวล ผลทรงรูปกระสวย ออกผลช่วงเดือน กุมภาพันธ์-เมษายน

 ประโยชน์ของนุ่น

ส่วนที่ใช้เป็นอาหาร ฝักอ่อนมากๆ เนื้อในซึ่งยังไม่เปลี่ยนเป็นปุยนุ่นใช้เป็นอาหาร หรือจะกินสดๆหรือใส่แกง ใช้ปุยในผลแก่ยัดหมอน ฟูก ชาวบ้านป่ามักนำไปใช้เป็นส่วนประกอบหนึ่งของเชื้อไฟใน "ตะบันไฟ" เมล็ดใช้สกัดเป็นน้ำมันพืช กากที่เหลือใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ไส้นุ่น ใช้เพาะเห็ดฟาง เนื้อไม้นุ่น ทำกระสวยทอผ้า เยื่อกระดาษ ส้นรองเท้า ราก ใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์

       บทที่3

อุปกรณ์และวิธีดำเนินงาน


อุปกรณ์

-  ผ้าลายไทย กว้าง 1.10 เมตร            

-  เข็มใหญ่ (หัวทอง)

-  เข็มเล็ก (เข็มเย็บผ้าธรรมดา)

-  เข็มร้อยพวงมาลัย

-  นุ่น (ประมาณ 2 กิโลกรัม)              

-  ดินสอ 2 บี               

-  ไม้บรรทัดพลาสติก ยาว 60 เซนติเมตร                   

-  ด้าย (สีตามผ้าที่เลือก)
                                  

-  กระดุม (ที่สั่งอัดโดยใช้ลายจากผ้าที่เลือก)  จำนวน 2 เม็ด

-  กรรไกร

ขั้นตอนในการทำ

1.  กางผ้าตาดที่พื้น

2.  เอาไม้บรรทัดมาทาบแล้วขีดช่องตามลายที่ต้องการ  ถ้าทำลูกใหญ่ก็ขีด 8  ช่อง

3.  เย็บริมผ้าด้วยจักรเย็บผ้า

4.  ใช้เข็มสอยตามลายที่ได้ขีดไว้  การสอยต้องสอด 

5.   รอบกันผ้าหลุดออกมาและต้องสอยทีละแถว

6.  เย็บตรงจุดที่จะนำนุ่นยัดเข้าไปแล้วดึงผูกไว้มัดหลวม  ๆ

7.  เอานุ่นยัดเข้าไปในตัวหมอน

8.  เย็บกระดุมห่อด้วยผ้าสอดในเส้นด้ายที่มีเข็มใหญ่ร้อยอยู่ ร้อยและมัดให้แน่น

9.  ตรวจดูความเรียบร้อย  เราก็จะได้หมอนฟักทองที่สวยงาม 

 

ข้อพึงระวัง ->

การยัดนุ่นแต่ละครั้งไม่ควรยัดให้แน่นจนเกินไปจะทำให้หมอนฟักทองแข็งและเสียรูปทรงได้

รูปประกอบ -> image1

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดเชียงใหม่
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา