ความรู้สัมมาชีพชุมชน

ปุ๋ยหมักชีวภาพ

โดย : นายประวิง อยู่รอด วันที่ : 2017-03-27-13:25:07

ที่อยู่ : 136

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

เนื่องจากผักตบชวาริมแม่น้ำมีจำนวนมาก ประกอบกับการทำนาข้าพเจ้าจะต้องใช้ปุ๋ยในการบำรุงดินทุกปีจำนวนมาก หลังจากได้เข้าร่วมการอบรมกับสำนักงานเกษตรอำเภอสรรพยา จึงได้นำผักตบชวามาทำปุ๋ย ซึ่งปุย         หมักที่ไดจากผักตบชวา เมื่อนํามาใชปรับปรุงบํารุงดิน เพื่อปลูกพืชจะไดดินรวนซุย เหมาะต่อการเจริญเติบโต ทําใหดินทรายยึดตัวกัน ลดการสูญเสียหนาดิน และชวยอุมน้ำไวหลอเลี้ยงตนพืชไดเปนเวลานาน สําหรับดินเหนียวจัด ปุย      หมักจะทําใหดินรวนโปรงอากาศสามารถถายเทไดสะดวก ดินมีโครงสรางดีขึ้น รากพืชแผกระจายไปหาธาตุอาหารได้              งายกวาเดิม ดังนั้นการนําปุยหมักที่ผลิตไดไปใชประโยชนจะเปนหนทางหนึ่งในการเพิ่มผลผลิต ใหสูงขึ้น ไมวาจะเป็นพืชผัก พืชสวน พืชไรแปลงเล็ก ไมดอกไมประดับ ไมยืนตน ฯลฯ

วัตถุประสงค์ ->

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

อุปกรณ์ ->

กระบวนการ/ขั้นตอน->

การทำปุ๋ยหมักพืชสด

                   1. ผักตบชวาแห้งผสมมูลสัตว์ และปุ๋ยเคมี โดยใช้อัตราส่วน 100 : 10 : 1 โดยน้ำหนักนําผักตบชวาจากแหล่งน้ำขนมาตากกลางแจ้งประมาณ  1- 2 สัปดาห์ เพื่อให้ผักตบชวายุบตัวลง (ถาใชผักตบชวาสด ปุยหมักที่ไดจะน้อยเพราะผักตบชวาสด 100 สวนจะเปนน้ำถึง 90 สวน)

                   2. เมื่อไดผักตบชวาเพียงพอตอความตองการแลว จึงนํามากองบนพื้นดิน ความกวางของกอง 2 - 3 เมตร สูง 1.0 - 1.5 เมตร ความยาวไมจํากัด โดยกองผักตบชวาเปนชั้นใหแนน แตละชั้นสูงประมาณ 30 - 40 เซนติเมตร

หลังจากนั้น จึงนํามูลสัตวหวานทับขางบนหนาประมาณ 1 - 2 นิ้ว โรยปุ๋ยเคมี บางๆ ทับมูลสัตว์ อีกทีหนึ่ง รดน้ำใหชุ่ม

                   3. นําผกตบชวามากองทับเป็นชั้นต่อไป ทำเช่นเดียวกับการกองครั้งแรกจนขนาดของกอง มีความสูง 1 - 1.5 เมตร ชั้นบนสุดใสหนาดินทับหนาประมาณ 1 นิ้ว กองทิ้งไว 30 วัน (ถาไมมีมูลสัตว์มาใชเปนตัวเรงสําหรับทําปุ๋ยหมักก็สามารถนําหนาดินบริเวณใตกองหญาเกา ใตฟางเกา หรือปุยหมักที่มีอยูแลว มาผสมกับผักตบชวาแทนมูลสัตวก็ได

                   เทคนิคการดูแล

                   1. หลังจากกองปุยหมักทิ้งไว 30 วันแลว หมั่นดูแลกองผักตบชวาโดยการใหน้ำอยาใหแหงหรือแฉะเกินไป โดยมีวิธีการตรวจงายๆ คือ ใชสอมสอดเขาไปในกองลึกๆ ตักชิ้นสวนมาบีบดู ถามีน้ำหยดออกมาแสดงวาความชื้นพอเหมาะไมตองรดน้ำ ถาไมมีน้ำหยดแสดงวากองผักตบชวาแหงเกินไป ตองรดน้ำในระยะนี้ (อยาใชมือสอด         เขาไปในกองเพราะมีความรอนสูง)

                   2. จะตองกลับผักตบชวาทุกๆ 7 - 10 วัน เพื่อใหอากาศถายเทผานเขาไปในกองไดสะดวก และลดความรอนภายในกองดวย ซึ่งจะทําใหผักตบชวาสลายตัวเปนปุยหมักไดเร็วขึ้นกวาการที่ไมกลับกองปุย

ข้อพึงระวัง ->

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดชัยนาท
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา