เทคนิคส่งเสริมสัมมาชีพ

เลี้ยงปลาหมอ

โดย : นายอนุสา การินทร์ ตำแหน่ง : ปราชญ์ชุมชน วันที่ : 2017-09-28-06:40:37

ที่อยู่ : 50 หมู่ที่ 8 ตำบลคำเตย

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

ปลาหมอ เป็นปลาที่มีรสมัน เนื้อแน่น นุ่ม ก้างน้อย สามารถประกอบอาหารหรือแปรรูปได้หลากหลาย ทั้งต้มยำ แกง ย่าง ทอด ทำปลาร้า ปลาเค็ม ปลาตากแห้ง และอื่นๆ ปัจจุบันเป็นที่ต้องการของตลาด และนิยมบริโภคกันมาก ทั้งในประเทศ และการส่งออก

วัตถุประสงค์ ->

ในบ่อปูนความได้เปรียบที่เห็นได้ชัด คือ การดูแลจัดการดี สามารถควบคุมการเลี้ยงได้ ซึ่งตามหลักการเลี้ยงปลาหมอจะไม่เน้นการใช้พื้นที่บ่อที่มาก ฉะนั้นการเลี้ยงในบ่อปูนขนาดตามที่จัดสรรได้นั้นจะได้เปรียบมากที่สุด

การดูแลระหว่างการเลี้ยง

น้ำความสมดุลที่คนเลี้ยงต้องใส่ใจ คุณณรงค์กล่าวว่า ตนจะใช้การเลี้ยงแบบระบบน้ำล้นตลอด 24 ชั่วโมง น้ำในบ่อมีความลึก 60-70 เซนติเมตรและการใช้จุลินทรีย์บำบัดพื้นบ่อตามโปรแกรม

ระบบน้ำเลี้ยง 24 ชั่วโมง คุณภาพน้ำส่วนกลางบ่อและส่วนบนจะสะอาด แต่ถ้าสังเกตการกินอาหารปลาจะกินอาหารหน้าน้ำและมีความตื่นตัว ฉะนั้นหากลักษณะน้ำในบ่อสะอาด ปลาก็จะกินอาหารได้ดีขึ้น

การใช้จุลินทรีย์ จำเป็นต้องใช้อย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลาการเลี้ยง ถือเป็นการควบคุมปริมาณเชื้อในบ่อ

การใช้จุลินทรีย์บำบัดพื้นบ่อ ของเสียที่สะสม และการเปลี่ยนถ่ายน้ำระหว่างการเลี้ยง ถือเป็นความใส่ใจอย่างหนึ่งที่คนเลี้ยงต้องทำ

เทคนิคการให้อาหารปลา การให้อาหารปลานั้นแนะนำการให้ในวงกว้างเพื่อให้อาหารใหม่ถึงปลาทุกตัวในบ่อ ความได้เปรียบในเรื่องบ่อเลี้ยงที่สามารถควบคุมได้ จึงเหมาะสมอย่างยิ่งสำหรับการเลี้ยงปลา และนอกจากนี้การให้อาหารครั้งละน้อยๆ บ่อยๆ ครั้ง จะทำให้ปลากินอาหารได้ดีและมีผลการเจริญเติบโตที่ดี

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

การบริหารจัดการ

อุปกรณ์ ->

โรคปลาหมอไทยที่พบบ่อย ดังนี้
1. โรคตกเลือดซอกเกล็ด
2. โรคเกล็ดพอง

3.โรคแผลตามลำตัว
4.โรคจุดขาว
 

กระบวนการ/ขั้นตอน->

การเลี้ยงปลาในแต่ละช่วงต้องติดตามสถานการณ์ของตลาด

ข้อพึงระวัง ->

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดนครราชสีมา
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา