ความรู้สัมมาชีพชุมชน

เลี้ยงกบ

โดย : นายประสิทธิ์ อุธาเลิศ วันที่ : 2017-03-27-22:53:06

ที่อยู่ : 53 หมู่ที่ 7 ตำบลหนองฮาง

ความเป็นมา / แรงบันดาลใจ / เหตุผลที่ทำ ->

1. ต้องศึกษาหาความรู้เบื้องต้นในการเลี้ยงกบจากฟาร์มกบโดยตรงหรือผู้ที่เลี้ยงกบอยู่แล้ว  
               2. กำหนดต้นทุนที่จะใช้เลี้ยงและเงินหมุนเวียนต่อเดือน 
               3. เลือกรูปแบบการเลี้ยงให้เหมาะสมกับพื้นที่และระบบการเปลี่ยนถ่ายน้ำ
                4. หาฟาร์มกบ ที่จำหน่ายพันธุ์ลูกกบ ในบริวเณใกล้เคียง เพื่อสะดวกต่อการขนย้ายลูกกบ  
                5. ผู้เลี้ยงต้องพร้อมและมีเวลาพอสมควรเพราะการเลี้ยงกบเพื่อขายต้องหมั่นเปลี่ยนถ่ายน้ำ หมั่นคัดขนาดลูกกบ เพื่อป้องกันกบเป็นโรคและกัดกินกันเอง
                6. ยังไม่ต้องกังวลเรื่องสายพันธุ์กบมากนัก ให้ไปซื้อลูกพันธุ์จากฟาร์มใดก็ได้มาทดลองเลี้ยงดูก่อน เพราะว่าทุกฟาร์มย่อมมีสายพันธุ์กบที่ตลาดต้องการอยู่แล้ว (ถ้าสายพันธุ์ของเขาไม่ดีจริงๆ เขาคงไม่กล้าเลี้ยงเยอะๆไว้เพื่อขายหรอกครับ)
                7. ยังไม่ต้องกังวลเรื่องการตลาดและที่ขายจนเกินไป เนื่องจากสินค้าเกษตรต้องผลิตให้ได้ก่อน จึงจะเสนอขายได้

                8. การเลี้ยงกบจะเริ่มช่วงเดือนใดก็ได้ ไม่จำเป็นต้องรอให้เป็นช่วงที่ราคาดีๆ

               9. อย่าทุบหม้อข้าวหม้อแกง แบบรอรายได้จากการเลี้ยงกบเท่านั้น ท่านต้องมีอาชีพอื่นๆทำควบคู่ไปก่อน เพราะอาชีพเกษตรจะยากตรงที่เราควบคุมธรรมชาติ ไม่ได้ คาดเดายากครับ
              10. อย่าท้อแท้เมื่อเลี้ยงครั้งแรกๆแล้วพบว่ากบตายไปมาก เพราะเป็นปกติที่การเริ่มเลี้ยงในระยะแรกๆจะต้องไม่มีผลกำไร ให้ลงทุนต่อไปและแก้ไขปัญหาต่างๆที่พบโดยปรึกษาผู้รู้หรือผู้ที่เลี้ยงกบมาก่อน
              11. ผู้ที่เริ่มเลี้ยงแนะนำให้หาซื้อลูกพันธุ์กบมาทดลองเลี้ยงสัก 1 ปี ก่อน แล้วค่อยหาพ่อแม่พันธุ์กบมาเพาะเองต่อไป จะคุ้มค่าเงินและเวลามากกว่า
              12. ราคาที่พ่อค้าคนกลางรับซื้อกบที่หน้าฟาร์มส่วนใหญ่ต่ำสุดที่ 23 บาท/กก. สูงสุดที่ 65 บาท/กก. และขายปลีกตามท้องตลาด

วัตถุประสงค์ ->

-ให้คนในชุมชนมีอาชีพเสริม

          -มีความรู้เรื่องการเลี้ยงกบ

          -เพื่อเป็นการลดรายจ่าย-เพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน

วัตถุดิบ (ถ้ามี) ->

อุปกรณ์ ->

กระบวนการ/ขั้นตอน->

1. ต้องศึกษาหาความรู้เบื้องต้นในการเลี้ยงกบจากฟาร์มกบโดยตรงหรือผู้ที่เลี้ยงกบอยู่แล้ว  
               2. กำหนดต้นทุนที่จะใช้เลี้ยงและเงินหมุนเวียนต่อเดือน 
               3. เลือกรูปแบบการเลี้ยงให้เหมาะสมกับพื้นที่และระบบการเปลี่ยนถ่ายน้ำ
                4. หาฟาร์มกบ ที่จำหน่ายพันธุ์ลูกกบ ในบริวเณใกล้เคียง เพื่อสะดวกต่อการขนย้ายลูกกบ  
                5. ผู้เลี้ยงต้องพร้อมและมีเวลาพอสมควรเพราะการเลี้ยงกบเพื่อขายต้องหมั่นเปลี่ยนถ่ายน้ำ หมั่นคัดขนาดลูกกบ เพื่อป้องกันกบเป็นโรคและกัดกินกันเอง
                6. ยังไม่ต้องกังวลเรื่องสายพันธุ์กบมากนัก ให้ไปซื้อลูกพันธุ์จากฟาร์มใดก็ได้มาทดลองเลี้ยงดูก่อน เพราะว่าทุกฟาร์มย่อมมีสายพันธุ์กบที่ตลาดต้องการอยู่แล้ว (ถ้าสายพันธุ์ของเขาไม่ดีจริงๆ เขาคงไม่กล้าเลี้ยงเยอะๆไว้เพื่อขายหรอกครับ)
                7. ยังไม่ต้องกังวลเรื่องการตลาดและที่ขายจนเกินไป เนื่องจากสินค้าเกษตรต้องผลิตให้ได้ก่อน จึงจะเสนอขายได้

                8. การเลี้ยงกบจะเริ่มช่วงเดือนใดก็ได้ ไม่จำเป็นต้องรอให้เป็นช่วงที่ราคาดีๆ

               9. อย่าทุบหม้อข้าวหม้อแกง แบบรอรายได้จากการเลี้ยงกบเท่านั้น ท่านต้องมีอาชีพอื่นๆทำควบคู่ไปก่อน เพราะอาชีพเกษตรจะยากตรงที่เราควบคุมธรรมชาติ ไม่ได้ คาดเดายากครับ
              10. อย่าท้อแท้เมื่อเลี้ยงครั้งแรกๆแล้วพบว่ากบตายไปมาก เพราะเป็นปกติที่การเริ่มเลี้ยงในระยะแรกๆจะต้องไม่มีผลกำไร ให้ลงทุนต่อไปและแก้ไขปัญหาต่างๆที่พบโดยปรึกษาผู้รู้หรือผู้ที่เลี้ยงกบมาก่อน
              11. ผู้ที่เริ่มเลี้ยงแนะนำให้หาซื้อลูกพันธุ์กบมาทดลองเลี้ยงสัก 1 ปี ก่อน แล้วค่อยหาพ่อแม่พันธุ์กบมาเพาะเองต่อไป จะคุ้มค่าเงินและเวลามากกว่า
              12. ราคาที่พ่อค้าคนกลางรับซื้อกบที่หน้าฟาร์มส่วนใหญ่ต่ำสุดที่ 23 บาท/กก. สูงสุดที่ 65 บาท/กก. และขายปลีกตามท้องตลาด

ข้อพึงระวัง ->

เว็บไซต์สัมมาชีพชุมชนจังหวัดศรีสะเกษ
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

โทรศัพท์ :
Email :
ที่อยู่ :

เกี่ยวกับเรา